การประเมินความต้องการจำเป็นในการบริโภคอาหารแดช (DASH Diet) เพื่อต้านโรคความดันโลหิตสูงของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินความต้องการจำเป็นเกี่ยวกับปัจจัยเชิงสาเหตุของบริโภคอาหารแดชเพื่อต้านโรคความดันโลหิตสูงของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา 2) ประเมินความต้องการจำเป็นของพฤติกรรมการบริโภคอาหารแดชเพื่อต้านโรคความดันโลหิตสูงของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา ทำการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน จากประชากร คือ บุคลากรสายสนับสนุนในสถาบัน
อุดมศึกษา ได้จำนวน 625 คน เครื่องมือวิจัยที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น (PNI modified)
ผลการวิจัย พบว่า
- ความต้องการจำเป็นเกี่ยวกับปัจจัยเชิงสาเหตุของการบริโภคอาหารแดชเพื่อต้านโรคความดัน
โลหิตสูงของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา พบว่า มีความต้องการจำเป็นสามอันดับแรก คือ
ด้านการบอกต่อ ด้านความรู้ความเข้าใจ และด้านการจัดการตนเอง (PNI modified = 0.59, 0.57 และ 56) - ความต้องการจำเป็นของพฤติกรรมการบริโภคอาหารแดชเพื่อต้านโรคความดันโลหิตสูงของ
บุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา พบว่า มีความต้องการจำเป็นสามอันดับแรก คือ การบริโภคอาหารกลุ่มธัญพืชและถั่ว กลุ่มเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์นมไขมันต่ำ และกลุ่มส่วนผสม (PNI modified = 0.50, 0.45 และ 44)
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ความคิด ข้อวิพากษ์ในวารสารเป้นสิทธิของผู้เขียน สมาคมสุขศึกษา พลศึกษา และสันทนาการแห่งประเทศไทยไม่จำเป็นต้องเห็นชอบด้วยเสมอไป เพื่อให้เกิดความหลากหลายในความคิดและความสร้างสรรค์
References
กระทรวงสาธารณสุข. (2566). สคร.9 เตือนประชาชน เนื่องในวันความดันโลหิตสูงโลก “ควบคุมความดันโลหิต ยืดชีวิตให้ยืนยาว”. สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2567, สืบค้นจาก https://ddc.moph.go.th
ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง, จิราพร วรวงศ์, อัจฉราวดี ศรียะศักดิ์, จุฬารัตน์ ห้าวหาญ, และ พรพรรณ มนสัจจกุล. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายของผู้ใหญ่วัยกลางคนที่มีน้ำหนักเกินในชนบท. สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2567, สืบค้นจาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/RHPC9Journal/article/view/245362/168233.
ณฐินี พงศ์ไพฑูรย์สิน, อภิชา น้อมศิริ, และ งามจิต คงสุผล. (2563). พฤติกรรมสุขภาพ (3อ.2ส.) และแนวทางการจัดการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับบุคลากรสายสนับสนุน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วารสารสาธารณสุขและวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 3(2), 95-108.
ณิชาภา จงประกายทอง. (2563). การบอกต่อแบบปากต่อปากและปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เสริมแคลเซียมของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2567, สืบค้นจาก http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/bitstream/123456789/1129/1/gs602130002.pdf.
พิมลพรรณ ดีเมฆ และศิริพร เงินทอง. (2562). พฤติกรรมสุขภาพของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2567, สืบค้นจาก https://research.kpru.ac.th/research2.
มณีวรรณ ดอนทราย, และ สรัญญา ถี่ป้อม. (2562). ผลของโปรแกรมการมีส่วนร่วม และการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมสุขภาพ และระดับความดันโลหิต ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงอาศัยในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสวนเมี่ยง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 13(1), 65-74.
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. (2562). การสำรวจพฤติกรรมการดื่มนมของคนไทยปี 2562. สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2567, สืบค้นจาก https://www.thaihealth.or.th.
สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย. (2558). แนวทางการรักษาความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ.2555 ปรับปรุง พ.ศ.2558. กรุงเทพฯ: ทริค ธิงค์.
สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย. (2562). แนวทางการรักษาความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ.2562. กรุงเทพฯ: ทริค ธิงค์.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2563). รายงานผลการศึกษาการสังเคราะห์ข้อมูลกระบวนการเรียนรู้ที่สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ. สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2564, สืบค้นจาก dol.thaihealth.or.th/Media/Index/ac39cb3d-ede5-ea11-80ec-00155d09b41f
สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2564). รายงานจำนวนบุคลากร ปีการศึกษา 2563 ภาคเรียนที่ 1. สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2564, สืบค้นจาก www.info.mua.go.th.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2563). สรุปผลการสำรวจภาวะการมีงานทำของประชากร เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563. สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2564, สืบค้นจากhttp://www.nso.go.th/Report_02-63.pdf
สุวิมล ว่องวาณิช. (2562). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เสาวลักษณ์ มูลสาร, และ เกสร สำเภาทอง. (2559). ผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนฤติกรรมการบริโภคอาหารตามแนวทางของ DASH ร่วมด้วยทฤษฎีการรับรู้ความสามารถแห่งตน และแรงสนับสนุนทางสังคม เพื่อลดความเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง. วารสารสาธารณสุข มหาวิทยาลัยบูรพา, 11(1), 87-98.
Chiavaroli, L., Viguiliouk, E., Nishi, S. K., Mejia, S. B., Rahelić, D., Kahleová, H., . . . Sievenpiper, J. L. (2019). DASH Dietary Pattern and Cardiometabolic Outcomes: An Umbrella Review of Systematic Reviews and Meta-Analyses. Nutrients, 11(2), 338. doi:10.3390/nu11020338
Hutchison, J., Warren-Findlow, J., Dulin , M., Tapp, H., & Kuhn, L. (2014). The Association Between Health Literacy and Diet Adherence Among Primary Care Patients with Hypertension. Journal of Health Disparities Research and Practice, 7(2), 109-126.
Madre Brava. (2023). Thailand Audience Strategy Research – Protein Transition December 2023. สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2567, สืบค้นจาก https://madrebrava.org/media/pages/insight /d926721204-1702551375/madre-thailand_strategy-research-in-thailand_14dec23.pdf.
Schwingshackl, L., Bogensberger, B., & Hoffmann, G. (2018). Diet Quality as Assessed by the Healthy Eating Index, Alternate Healthy Eating Index, Dietary Approaches to Stop Hypertension Score, and Health Outcomes: An Updated Systematic Review and Meta-Analysis of Cohort Studies. JAcadNutr, 118(1), 74-100.
Seangpraw, K., Auttama, N., Tonchoy, P., & Panta , P. (2019). The effect of the behavior modification program Dietary Approaches to Stop Hypertension (DASH) on reducing the risk of hypertension among elderly patients in the rural community of Phayao, Thailand. JMultidiscipHealthc, 109-118. doi:10.2147/JMDH.S185569. eCollection 2019.
Siervo, M., Lara , J., Chowdhury, S., Ashor, A., Oggioni, C., & Mathers, J. C. (2015). Effects of the Dietary Approach to Stop Hypertension (DASH) diet on cardiovascular risk factors: a systematic review and meta-analysis. Br J Nutr, 113(1), 1-15. doi: 10.1017/S0007114514003341
Soriano, F. I. (1995). Conducting needs assessments: A multidisciplinary approach. Thousand Oaks, CA: Sage Publications.
Spencer, P. H. (2019). The Implementation of the Teach-Back Method in Dash Diet Education to Improve Blood Pressure Control in Patients with Hypertension and Low Health Literacy. Retrieved from digitalcommons.liberty.edu/doctoral/2179
Warren-Findlow, J., Coffman, M. J., Thomas, E. V., & Krinner, L. M. (2019). ECHO: A Pilot Health Literacy Intervention to Improve. HLRP: Health Literacy Research and Practice, 3(4), 259-267.