การสร้างโปรแกรมฝึกทักษะเพื่อพัฒนาทักษะการว่ายน้ำท่าวัดวา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 The Development of Crawl Stroke Swimming Training Program for Grade 7 Students

Main Article Content

Ronnadet Phongsomroop

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อสร้างโปรแกรมฝึกทักษะการว่ายน้ำท่าวัดวา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการว่ายน้ำท่าวัดวาก่อนและหลังเรียน (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 ในการเรียนโดยใช้โปรแกรมฝึกทักษะเพื่อพัฒนาทักษะการว่ายน้ำท่าวัดวา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในรายวิชาเพิ่มเติมของโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 1 จำนวน 20 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างที่มีผลการว่ายน้ำต่ำกว่าเกณฑ์ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ โปรแกรมการฝึกทักษะการว่ายน้ำท่าวัดวาแบบทดสอบทักษะการว่ายน้ำท่าวัดวา และแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อโปรแกรมการฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการว่ายน้ำท่าวัดวาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ( ), ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.),และค่า (T-Test) แบบ Dependent Sample t-test


          ผลการวิจัยพบว่า


  1. 1. ทักษะการว่ายน้ำท่าวัดวา ก่อนเรียนและหลังเรียนหลังเรียนด้วยโปรแกรมฝึกทักษะการว่ายน้ำท่า วัดวา จากแบบทดสอบทักษะการว่ายน้ำท่าวัดวา ของกลุ่มตัวอย่างหลังการเรียนด้วยโปรแกรมฝึกทักษะการว่ายน้ำท่าวัดวา นำมาวิเคราะห์เพื่อนำเสนอในรูปค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่านัยยะสำคัญ และนำมาเปรียบเทียบทักษะระหว่างก่อนการเรียนและหลังการเรียนด้วยโปรแกรมฝึกทักษะการว่ายน้ำท่าวัดวา โดยการวิเคราะห์ด้วย Dependent sample T-Test คะแนนเฉลี่ยของการทดสอบทักษะ

*


การการว่ายน้ำท่าวัดวาของนักเรียนก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย ( ) = 4.10 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. = 0.64 ส่วนหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย ( ) = 5.20 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. = 0.77


แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ   ที่ระดับ .05 โดยความสามารถในการทดสอบทักษะการว่ายน้ำท่าวัดวาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน


  1. 2. ความพึงพอใจที่มีต่อโปรแกรมการฝึกทักษะการว่ายน้ำท่าวัดวาเพื่อพัฒนาการว่ายน้ำท่าวัดวาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่าเฉลี่ย ( ) = 05, และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) = 0.62 โดยมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับ มาก

คำสำคัญ : โปรแกรมฝึกทักษะ, ทักษะการว่ายน้ำท่าวัดวา   


 


Abstract   


             The objectives of this research were (1) to develop Crawl Stroke swimming training program for grade 7 students, (2) to compare Crawl Stroke swimming skills before and after learning, and (3) to study the satisfaction of grade 7 students using Crawl Stroke swimming training program. The sample of this study was 20 grade 1 students studying in additional courses of Banharn Jamsai Wittaya School 1. The sample was selected based on a purposive sampling. The sample gained below standard swimming results in the first semester, academic year 2018.  The research instruments were Crawl Stroke swimming training program, Crawl Stroke swimming testing, satisfaction with the developed Crawl Stroke swimming training program, and the questionnaire on satisfaction with the developed Crawl Stroke swimming training program for grade 7 students. Data were analyzed by mean (x ̅), standard deviation (S.D.), and Dependent Sample t-test.


The results of this research indicated as follows:


             1.In terms of measuring mean scores on Crawl Stroke swimming skills using the developed Crawl Stroke swimming training program, scores were measured and presented through mean, standard deviation, and significance values and pre-test and post-scores were compared with Dependent sample T-Test. The mean score(( x) ̅  )  of Crawl Stroke swimming skills at pre-test was 4.10 (S.D.=0.64). The mean score(( x) ̅  )  of Crawl Stroke swimming skills at post-test was 5.20 (S.D.=0.77). There was a statistically significant difference between pre-test and post-test scores at .05. Post-test score was higher than pre-test score.


             2.The students’ satisfaction with the developed Crawl Stroke swimming training program for grade 7 students was at a high level with a mean (( x) ̅  ) of 4.05 (S.D.=0.62).


             Keywords:   -

Article Details

Section
Research Articles