The development of Emotional Quotient and learning behavior of Student Teachers Based on Learning Management with Active Learning Mixed Contemplative Education Approach
Keywords:
Emotional quotient, Learning behavior, Active learningAbstract
The purposes of this research study was development of emotional quotient and learning behavior of Student Teachers Based on Learning Management with Active Learning Mixed Contemplative Education Approach. The sample group used in the study were 34 subjects who were studying in 1st year, of academic year 2019, of Mathematics Major Students in Faculty of Education Roi Et Rajabhat University, selected by purposive sampling. The instruments used in this study were 1) plans for learning activities based on Active Learning Mixed Contemplative Education approach, 2) assessment form for emotional quatient. 3) students journals 4) assessment form for learning behavior ,Mean and standard deviation were used for data analysis. The result was as follow :The emotional quotient of Student Teachers after learning Based on Learning Management with Active Learning Mixed Contemplative Education Approach was higher than before learning for all aspects, and In the analysis of learning behavior of students Student Teachers after learning Based on Learning Management with Active Learning Mixed Contemplative Education Approach for over all was at high level.
References
กรมสุขภาพจิต. (2543). อีคิว : ความฉลาดทางอารมณ์. กรุงเทพฯ: พัฒนาสุขภาพจิต.
กัญญาวดี แสงงาม และจิตราภรณ์ วงศ์คําจันทร์. (2562). การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย
ชั้นปีที่ 1 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดอัตลักษณศึกษา. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 3. 12 กรกฎาคม 2562. มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด: มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด. 486-491.
จิตราภรณ์ วงศ์คำจันทร์และกัญญาวดี แสงงามและ (2562). กิจกรรมเสริมสร้างคุณภาพจิตของนักศึกษาวิชาชีพครู โดยประยุกต์ใช้กระบวนการเรียนรู้ตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3. 12 กรกฎาคม 2562. มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด: มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด. 478-485.
ธนา นิลชัยโกวิทย์. (2551). การเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงและจิตตปัญญาศึกษา. กรุงเทพฯ: โครงการศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล.
ธนา นิลชัยโกวิทย์ และอดิศร จันทรสุข. (2552). ศิลปะการ จัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง : คู่มือ กระบวนการจิตตปัญญาศึกษา. กรุงเทพฯ: เอส.พี.เอ็น. การพิมพ์.
ประเวศ วะสี. ( 2550). ปาฐกถาสวัสดิ์ สกุลไทย์: มหาวิทยาลัยกับจิตตปัญญาศึกษาและไตรยางค์แห่งการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล.
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547. (2547). ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 121 ตอนพิเศษ 23ก. หน้า 1–24.
นภาพร โกมลพันธ์. (2551). ความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิต. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วนิดา ผาระนัด. (2561). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกที่ส่งเสริมความสามารถการเรียนรู้ของนักศึกษาครู. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 15(2), 29.
วิจารณ์ พาณิช. 2555. วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ตถาตา พับลิเคชั่น.
วิภาภรณ์ บุญยงค์. (2559). แนวทางการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาคณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. วารสารราชนครินทร์, 13(30), 27-35.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). เอกสารประกอบการระดมความคิดเห็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สำนักงานนิติการ, สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2548). รวมกฎหมายเพื่อบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: อักษรไทย.
สัจธรรม พรทวีกุล, จิตราภรณ์ วงค์คำจันทร์, ธนาภรณ์ พันทวี และคันธทรัพย์ ชมพูพาทย์. (2561). แบบการ เรียนรู้ของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 12(1), 207-215.
สุมน อมรวิวัฒน์. (2548). ดุลยภาพของการเรียนรู้. สืบค้นเมื่อ 31 ตุลาคม 2548, จาก http://www.jitwiwat.org./docs/
article/050806.sumon.htm
อภิญญา ยุทธชาวิทย์ และวีระชาติ ยุทชาวิทย์. (2558). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความฉลาดทางอารมณ์ของวัยรุ่น. วารสารทันตาภิบาล, 26(2), 125-145.
Branson, M.S. (1997). Citizens for the 21st Century: Their Public and Private character. Social Studies Review, 37(1), 26-78.
Currie, G. (1995). Learning Theory and the Design of Training in a Health Authority. Journal of Health Manpower
Management, 21(2), 13-19.
Goleman, D. (1995). Emotional Intelligence. New York: Bantam Books.
Hart, T. (2004). Opening the Contemplative Mind in the Classroom. Journal of Transformative Education,
(1), 200-214.
Hladis, J. (2010). Contemplative Aspect of Naropa Online Learning. Retrieved June 15, 2006, From http ://www.contemplativemineorg/practices
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว