ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของครูโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา
คำสำคัญ:
ปัจจัยที่ส่งผล, คุณภาพชีวิตการทำงานของครู, โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาบทคัดย่อ
ครูโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษามีทั้งครูฆราวาสและครูที่เป็นบรรพชิต ฉะนั้นคุณภาพชีวิตการทำงานเป็นองค์ประกอบที่สำคัญต่อการทำงานของครูในโรงเรียนประปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา หากครูมีคุณภาพชีวิตการทำงาน ที่ดีแล้ว ก็ยังผลให้การทำงานนั้นบรรลุตามวัตถุประสงค์ขององค์การที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คุณภาพชีวิตการทำงานเป็นความรู้สึกที่ดีของครูที่มีต่อการทำงานในโรงเรียน เพราะได้รับการตอบสนองความต้องการทั้งทางร่างกาย และจิตใจอย่างเหมาะสม สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีของครู ทำให้สามารถทำงานได้อย่างมีความสุข เกิดความพึงพอใจ ในการทำงานและส่งผลต่อประสิทธิภาพของการทำงาน คุณภาพชีวิตการทำงานของครูประกอบด้วย 1) ค่าตอบแทนที่เหมาะสม และเป็นธรรม 2) โอกาสได้รับการพัฒนาและใช้ความสามารถของตนเอง 3) สภาพแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะและปลอดภัย 4) ความก้าวหน้าและความมั่นคงในการทำงาน 5) ความสมดุลระหว่างชีวิตการทำงานกับชีวิตส่วนตัว และ 6) การมีส่วนร่วม ในการทำงานและความสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลอื่น โดยปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของครูประกอบด้วย 1) บรรยากาศขององค์การ 2) วัฒนธรรมองค์การ 3) ความพึงพอใจในงานและ 4) ความผูกพันต่อองค์การ
References
กมล กฤษวงศ์. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรังสิต.
กรกฎ แสงเกตุ. (2556). วัฒนธรรมองค์การคุณภาพชีวิตการทำงานของกำลังพลวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า. วิทยานิพนธ์ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560–2579. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2552). แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการการพัฒนาการศึกษา โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา (พ.ศ. 2553 – 2562). นครปฐม: สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
กาญจนา บุญเพลิง. (2552). คุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานเทศบาล จังหวัดสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป. ลพบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
เขมิกา สาธร. (2556). คุณภาพชีวิตในการทำงานของผู้บริหารสถานศึกษาและครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. ลพบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
จิราวรรณ เสนาลอย. (2556). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตในการทำงานของครู โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุดรธานี เขต 3. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ชัยสิทธิ์ สุวรรณน้อย. (2558). คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการทหารอากาศกองบิน 21 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
ณัฏฉลดา รัตนคช. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรครูระดับประถมศึกษาในจังหวัดหนองคาย. วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ตันหยง ชุนศิริทรัพย์. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้บรรยากาศองค์การกับคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงาน บริษัทนิตพอยน์ จำกัด. ค้นคว้าอิสระ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและเอกชน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ธันญารัตน์ ศรีขำ. (2555). คุณภาพชีวิตในการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษาและพนักงานครูในโรงเรียนสังกัดเทศบาล จังหวัดลพบุรี และสระบุรี. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. ลพบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
นิตพร บุญหนัก. (2555). ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรี. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา. ลพบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
ละคร เขียนชานาจ. (2557). วัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ประเสริฐ สุภภูมิ. (2557). บรรยากาศองค์การที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของนักวิชาการสาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตำบล จังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ์ สาธารณสุขมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารสาธารณสุข. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปุญชรัสมิ์ สังข์เอี่ยม. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในงานและความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสายสนับสนุนสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พิศ ศรีสวัสดิ์. (2557). วัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดนครสวรรค์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา. นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2558). บทบาทของครูในอนาคต: เตรียมผู้เรียนให้สอนตนเองได้ต่อไป. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 1(1), 1-8.
วรรณพิมพ์ หนูมงกุฎ. (2557). สุขภาพองค์การที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
สมยศ ชิณโคตร. (2557). การพัฒนามาตรการส่งเสริมคุณภาพชีวิตการทำงานของครูโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสัฆมณฑล. ดุษฎีนิพนธ์ การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา. สารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.ฃ
อุษณี โกพลรัตน์. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในงานและความผูกพันต่อองค์การของพนักงานโรงแรมอิมพีเรียล จังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์ รัฐศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
เอกลักษณ์ เพียสา. (2558). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของครูในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา สังกัดมหาเถรสมาคม. ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
Bruce, W. M. and Blackburn, J. W. (1992). Balancing job satisfaction & performance: A Guide for Human Resource Professionals. Westport: Quorum Books.
Cascio, W. F. (1998). Managing human resource: Productivity, Quality of working lifeprofits. Boston: McGraw-Hill.
Carrell, M. R., Kuzmits, F. E. and Elbert, N. F. (1992). Personnel/Human resource management (4th ed.). NewYork: Macmillan.
Hackman, J. R. and Sutte, L. J. (1998). Improving life at work: Behavior science approaches to Organizational change. California: Goodyear Publishing.
Herzberg, F. B., Mausner, B. and Synderman, B. (1959). The motivation to work. New York: John Wiley and Sons.
Hodgetts, R. M. (1993). Modern human relation at work (5th ed.). Fort Worth, Texas: Dryden Press.
House, E. F. and Cummings, T. G. (1985). Organization development and change. Minnesota: John Wiley and Sons.
Lehrer, R. N. (1982). Participative productivity and quality of work life. Englewood Cliffs. New Jersey: Prentice-Hall.
Litwin, G. H. and Stringer, R. A. Jr. (1968). Motivation and organizational climate. Boston: Harvard University.
Schuler, R. S., Beutell, N. J. and Youngblood, S. A. (1988). Effective Personal Management (3nd ed.). Minnesota: Minnesota Nest Publisthing.
Sergiovanni, T.J. and Starratt, R.J. (1988). Supervision: human perspectives. New York: McGraw-Hill.
Steers, R. M. and Porter, L. W. (1991). Motivation and work behavior (5th ed.). New York: McGraw-Hill.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว