การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ผู้แต่ง

  • Polpisit Talason นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • Kanyarat Cojorn อาจารย์สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คำสำคัญ:

ความสามารถในการแก้ปัญหา, การใช้ปัญหาเป็นฐาน, สื่อสังคมออนไลน์

บทคัดย่อ

              การวิจัยเชิงปฏิบัติการมีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70
ของคะแนนเต็ม 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี  กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 19 คน โดยการเลือกแบบเจาะจงจากผู้ที่มีปัญหาความสามารถในการแก้ปัญหาวิจัยเชิงปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 3 วงรอบ เครื่องมือ
มีทั้งสิ้น 7 เครื่องมือ ได้แก่ 1) แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา แบบอัตนัย 2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี แบบปรนัย 5 ตัวเลือก 3) แบบสังเกตพฤติกรรมการแก้ปัญหาของผู้เรียน 4) แบบบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ 5) อนุทิน
6) แบบสัมภาษณ์ 7) แผนการจัดการเรียนรู้ ผลวิจัยพบว่า

            1) วงรอบที่ 1 กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน พบว่าผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการแก้ปัญหาเท่ากับ 5.49 คิดเป็นร้อยละ 68.64 โดยมีผู้เรียนในกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ทั้งสิ้น 10 คน คิดเป็นร้อยละ 52.63 และคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.05 คิดเป็นร้อยละ 80.53 2) วงรอบที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ พบว่า ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการแก้ปัญหาเท่ากับ 5.49 คิดเป็นร้อยละ 68.64 โดยมีผู้เรียนในกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ทั้งสิ้น 14 คน คิดเป็นร้อยละ 73.68 และคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.47 คิดเป็นร้อยละ 74.74 3) วงรอบที่ 3 กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค KWL พบว่า ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการแก้ปัญหาเท่ากับ 6.31 คิดเป็นร้อยละ 78.84 โดยมีผู้เรียนในกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ทั้งสิ้น 18 คน คิดเป็นร้อยละ 94.74 และคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 12.58  คิดเป็นร้อยละ 83.86

References

Academic Department Mattayomyangsisurat. (2016). Self development of Mattayomyangsisurat Mahasarakham. Mahasarakham: Mattayomyangsisurat School.

Berk, L. E., & Winsler A. (1995). Scaffolding children’s learning: Vygotsky and early childhood education. Washington: National Association for the Education of Young Children.

Laothiang, C. (2014). Ethics of Social media study (in Thai). Bangkok: Saisupan.

Eggen, P. & Kauchak, D. (2001). trategies and Models for Teachers: Teaching Content and ThinkingSkills (5th Edition). North Florida: University of North Florida.

Kammanee, T. (2008). Teachology: the components for effective learning management (in Thai) (7th ed). Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Kammoon, S. & Kammoon, O. (2008). How to manage learning to develop thinking process [in Thai]. Bangkok: Phabpim Press.

Krongphonkhwa, P. (2016). Development of Physics Learning Activities by Using ProblemBased Learning cooperated Social Media to Promote Learning Achievement, Scientific Problem-Solving Ability and Putting Effort Persistently for 10 Grade Students (in Thai). Mahasarakham: Mahasarakham University.

Moonkham, S. & Moonkham, O. (2001). 19 Methods for Instruction of Knowledge and Skill Development. Bangkok: Thai Watana Panit.

Nungchalerm, P. (2013). Research in learning and teaching ([in Thai)]. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Paisri, S. (2014). Developing learning achievement, thinking for problem-solving, learning satisfaction for Mattayomsuksa 4 students by using 7E learning cycle model, 7E learning cycle modelcooperated with KWL technique (in Thai). Mahasarakham: Mahasarakham University.

Rangsi P. (2017). Developing problem-based ability by using problem-based learning for Mattayomsuksa 5 (in Thai). Mahasarakham: [in Thai]. Mahasarakham University.

Siriboonnam, R. (2018). Comparisons of analytical thinking abilities, science learning achievement on Acid-base, and attitudes toward chemistry learning of Matthayomsueksa 5 students learned by the 7-E learning cycle, KWL learning method, and the conventional approach (in Thai). Mahasarakham: Mahasarakham University.

Siripimon, H.. (2008). The Development of science-problem Solving Ability and avidity for learning Characteristic of tenth grade students taught by inquiry approach (in Thai). Bangkok: Silaphakorn University.

The Institute for the promotion of teaching science and technology. (2008). 5th years Strategic of The Institute for the promotion of teaching science and technology 2014 to 2018. Bangkok: IPST.

The Ministry of Education. (2017). The Basic Education Core Curriculum B.E 2551 (2008) (revised Edition B.E. 2560 (2017). Bangkok: IPST.

Torp, L., & Sage S. (1998). Problems as possibilities: Problem-based learning for K-12 education. as Possibilities: Science and Education. Virginia: Association for Supervision and Curriculum Development.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-04-29

How to Cite

Talason, P., & Cojorn, K. (2019). การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 13(1), 3–15. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/reru/article/view/185874