แนวทางการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาพิการในระดับอุดมศึกษา

ผู้แต่ง

  • ธีระศักดิ์ ดาแก้ว
  • อุมาพร ไวยารัตน์
  • เพิ่มพร สุ่มมาตย์
  • สว่าง ยุคะลัง

คำสำคัญ:

นักศึกษาพิการ, อุดมศึกษา, การส่งเสริมและพัฒนา

บทคัดย่อ

   การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาพิการในระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ได้มีการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนานักศึกษาพิการ (DSS : Disability Support Services Center) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้บริการและสนับสนุนด้านการศึกษาแก่นักศึกษาพิการ เพื่อให้นักศึกษาพิการได้รับข่าวสารเข้าร่วมกิจกรรมของทางมหาวิทยาลัย มีแหล่งการเรียนรู้ที่เหมาะสม อีกทั้งสามารถปรับตัวในการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้ โดยมีแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนากับนักศึกษาพิการให้ประสบความสำเร็จ คือ 1. หลักในการทำงานกับนักศึกษาพิการ เป็นการสร้างความเข้าใจทั้งผู้ปฏิบัติและนักศึกษาพิการ ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม ได้รับโอกาสเท่าเทียบกับบุคคลอื่น 2. การจัดการเรียนการสอนตามแนวคิด Universal design 3. ส่งเสริมทักษะการบริหารจัดการตนเองของนักศึกษาพิการ ให้มีทักษะพัฒนาตนเองจนประสบความสำเร็จ ซึ่งศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนานักศึกษาพิการ (DSS : Disability Support Services Center) ได้จัดโครงการเพื่อให้นักศึกษาพิการได้มีโอกาสเรียนรู้บทบาท หน้าที่ ตลอดจนทักษะที่จำเป็นสำหรับการศึกษาเล่าเรียนและการใช้ชีวิตได้อย่างเท่าเทียมกับนักศึกษาปกติ

References

พรรณี ช.เจนจิต. (2550). จิตวิทยาการเรียนการสอน. นนทบุรี : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.

พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551. (2551, 5 กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 125 ตอนที่ 28ก.

ระเบียบคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2552. (2552, 6 พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 126 ตอนพิเศษ 163ง.

สาลินี จงใจสุรธรรม, นำชัย ศุภฤกษ์สกุลและวินัย ดำสุวรรณ. (2558). “กลวิธีการกำกับตนเองในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21,”วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา. 7(1) : 15–26.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2557ก). เอกสารประกอบการอบรมหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการในระดับอุดมศึกษา : การส่งเสริมทักษะการบริหารจัดการตนเองของนักศึกษาพิการ. กรุงเทพฯ : กลุ่มส่งเสริมการเรียนรู้ประสบการณ์กับชุมชน.

________. (2557ข). เอกสารประกอบการอบรมหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการในระดับอุดมศึกษา : การออกแบบการเรียนรู้ที่เป็นสากล. กรุงเทพฯ : กลุ่มส่งเสริมการเรียนรู้ประสบการณ์กับชุมชน.

________. (2558) เอกสารประกอบการอบรมหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการในระดับอุดมศึกษา : การทำงานกับนักศึกษาพิการ. กรุงเทพฯ : กลุ่มส่งเสริมการเรียนรู้ประสบการณ์กับชุมชน.

อิสสริยภรณ์ วานิชพิพัฒน์. (2558). แนวทางการให้บริการในศูนย์บริการสนับสนุนนักศึกษาพิการของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การศึกษาพิเศษ). นครราชสีมา : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

Belch, H.A. (2004). “Retention and Students with Disabilities,” Journal of College Student Retention, 6, 3–22.

Wessel, R.D., Jones, J.A., Markle, L., & Westfall,C. (2009). “Retention and Graduation of Students with Disabilities : Facilitating Student Success,” Journal of postsecondary education and disability. 21(3) : 116–124.

Tinto, V. (1993). Leaving college : Rethinking the Causes and Cures of Student Attrition. 2nd ed. Chicago : University of Chicago Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-12-31

How to Cite

ดาแก้ว ธ., ไวยารัตน์ อ., สุ่มมาตย์ เ., & ยุคะลัง ส. (2016). แนวทางการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาพิการในระดับอุดมศึกษา. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 10(2), 143–147. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/reru/article/view/176502