The Development of Explanation Writing Ability by Using Genre-based Activities
Keywords:
Explanation Writing, Genre-based Activities, SatisfactionAbstract
The purposes of this research were 1) to improve the students’ explanation writing ability, and
2) to study the satisfaction of the students toward explanation writing instruction based on genre-based
activities. Being selected through purposive sampling, 15 second-year undergraduate students majoring
in English at the Faculty of Humanities and Social Sciences, Surindra Rajabhat University were the subjects
of the study. Instruments for collecting data included 1) the genre-based activities lesson plans, 2) the writing
test, 3) the satisfaction questionnaire, and 4) the explanation writing ability rubric. Statistics for data analysis
included mean, percentage, and standard deviation. The findings indicated that 1) the score of the subjects’
explanation writing ability before using genre-based activities was 66.20% and after was 87.87%, and
2) the subjects’ satisfaction with the use of genre-based activities in developing explanation writing ability
was at high level.
To conclude, the genre-based activities enhanced the students’ explanation writing ability.
Moreover, the subjects were satisfied with the genre-based activities at high level. The genre-basedactivities are considered as an appropriate teaching approach which should be used to develop students’
English explanation writing ability.
References
ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. มหาสารคาม: วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
จินตนา นักบุญ. (2536). การเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษและแรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการสอนด้วยวิธีการเขียนตามข้อเท็จจริงโดยอาศัยแนวทฤษฎีการสอนภาษา
แบบอรรถฐานกับวิธีการสอนตามคู่มือครู. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ฉัตรชัย อภิวันท์สนอง. (2548). ศึกษาการเปรียบเทียบความสามารถในการอ่าน ความสามารถในการเขียน และแรงจูงใจ
ในการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการสอนด้วยวิธีตามแนวทฤษฎีการสอน
แบบอรรถฐานและการสอนตามคู่มือครู. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. มหาวิทยาลันศรีนครินทรวิโรฒ.
ภาสกร แจ่มจันทร์เกษม. (2534). การศึกษาเปรียบเทียบความสามารถทางการอ่าน การเขียนภาษาอังกฤษ และความคิด
สร้างสรรค์ทางภาษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการสอนด้วยแนวทฤษฎีการสอนแบบอรรถฐาน
(Genre Based Approach) กับวิธีการสอนตามคู่มือครู. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
วิไลพร ธนสุวรรณ. (2536). เทคนิคการสอนเขียนภาษาอังกฤษในระดับมัธยมศึกษา. เชียงใหม่: คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ศรีนวล บุญธรรม. (2545). การส่งเสริมความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษและการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยวิธีการเรียนรู้ภาระงานที่ใช้ความรู้เป็นฐาน. เชียงใหม่: วิทยานิพนธ์ กศ.ม.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สมสมัย วิสูตรรุจิรา. (2548). การเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษและเจตคติต่อการเขียนภาษาอังกฤษ
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนเขียนตามแนวทฤษฎีการสอนแบบอรรถฐานกับการสอนเขียน
ตามคู่มือครู. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุนันทา อินคาเชื้อ. (2552). การใช้แนวการสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา เพื่อส่งเสริมความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษ
เชิงสร้างสรรค์และความรู้คาศัพท์ของนักเรียนในระดับกาลังพัฒนา. เชียงใหม่: วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อินทร์วุธ เกษตระชนม์. (2551). ผลการสอนเขียนตามแนวคิดอรรถฐานที่มีต่อความสามารถในการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์
และความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธ์ ค.ม. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
L. S. and Hayes, J. Flower. (1980). The Cognition of Discovery a Rhetorical Problem. College Composition
and Communication.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว