คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตระดับปริญญาตรี สาขาวิชาดนตรีแจ๊ส ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

ผู้แต่ง

  • ศักดิ์ระพี รักตประจิต
  • ณรุทธ์ สทุธจิต

คำสำคัญ:

คุณลักษณะที่พึงประสงค์, สาขาวิชาดนตรีแจ๊ส, กรอบมาตรฐานคุณวฒุิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงคุณภาพนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตระดับปริญญาตรีสาขาวิชาดนตรีแจ๊ส กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงจํานวน 39 คนประกอบด้วย 1) ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิสาขาวิชาดนตรีแจ๊สจํานวน 2 คน 2) คณาจารย์ประจําสาขาวิชาดนตรีแจ๊ส จํานวน 8 คน 3) นิสิต/นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 – 4 สาขาวิชา ดนตรีแจ๊ส จํานวน 22 คน 4) ผู้ที่สําเร็จการศึกษาในสาขาวิชาดนตรีแจ๊ส จํานวน 5คน และ 5) ผู้ใช้บัณฑิตในสาขาวิชาดนตรีแจ๊สจํานวน 2คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์จํานวน 5 ชุดลักษณะขอคําถามปลายเป็นเครื่องมือทุกชุดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจํานวน 3 ท่าน มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคําถามและวัตถุประสงค์ระหว่าง 0.79-0.96 ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือนเมษายนมิถุนายน พ.ศ. 2559 วิเคราะห๋ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและการตรวจสอบสามเสาด้านวิธีรวบรวมข้อมูล

   ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตสาขาวิชาดนตรีแจ๊สมี 6 คุณลักษณะคือ 1) ด้านคุณธรรม จริยธรรม2) ด้านความรู้ 3) ด้านทักษะทางปัญญา 4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีและ 6) ด้านทักษะพิสัยซึ่งสอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

  ดังนั้นการกําหนดคุณลักษณะบัณฑิตระดับการกําหนดคุณลักษณะบัณฑิตระดับปริญญาตรีสาขาวิชาดนตรีแจ๊สจําเป็นต้องคํานึงถึงกรอบต้องคํานึงถึงกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติเพื่อเป็นหลักในเป็นหลักในการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลการเรียนรู้สามารถผลิตบัณฑิตที่มีผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพสูงให้สังคมต่อไป

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2556). กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ. National Qualifications Framework (Thailand NQF). กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค.

_______. (2558). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://www.mua.go.th/users/bhes/front_home/criterion58/criterion_b58.PDF

คณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2552). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย (Thai Qualifications Framework for Higher Education; TQF: HEd). กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

ฉวีวรรณ แจ้งเกิด และคณะ. (2554). คุณลักษณะบัณฑติที่พึงประสงค์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติของสาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการอาหาร. (รายงานวิจัย). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร.

ปองภพ สุกิตติวงศ์ และณัฐวุฒิ บริบูรณ์วิรีย์. (2557). “การนําเสนอแนวทางการจัดการเรียนการสอนดนตรีเพื่อพัฒนา ทักษะคีตปฏิภาณดนตรีแจ๊สในคีตลักษณ์บลูส์ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต,” OJED. 9(2) : 174–186.

พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ และคณะ. (2554). โครงการจัดทํามาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี หลักสูตร ๕ ปี สาขาครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2552). ประกาศ คณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศกึษาแห่งชาติ เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://www.mua.go.th/users/ tqf– hed/news/FilesNews/FilesNews3/News 328072552.pdf.

สุขกมล พันธไชย และ เพิ่มเกียรติ ขมวัฒนา. (2555). “การศึกษาคุณลักษณะทั่วไปของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความ คิดเห็น ของผู้ใช้บัณฑิต หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต,” OJED. 7(1) : 518–528.

สุชาดา โสวัตร. (2553). การนําเสนอแนวทางการพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชาคีตศิลป์ไทย ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (ดนตรีศึกษา). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุภางค์ จันทวานิช. (2556). การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

_______. (2557). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สุรเชษฐ์ ชิระมณี. (2558). วิธีวิทยาการวิจัยทางสัมคมศาสตร์ (Research Methodology in Social Sciences). เพชรบุรี : คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยศิลปากรวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบรุี อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี

Beaton, D.E., Bombardier, C., Guillemin, F., & Ferraz, M.B. (2000). “Guidelines for the Process of Cross– cultural Adaptation of Self–report Measures,” Spine (Phila Pa 1976). 25 : 3186–3191.

Cox, J. (2007). Handbook Curriculum Design and Development in Higher Music Education. Bologna : AEC Publication.

Fuangaugsorn, N. (2010). A Comparative Study of The Selected Bachelor of Music Programs Majoring Jazz Studies in The United States of America, England, Canada, Australia and Thailand. Thesis M.A. (Music). Bangkok : Mahidol University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-12-31

How to Cite

รักตประจิต ศ., & สทุธจิต ณ. (2016). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตระดับปริญญาตรี สาขาวิชาดนตรีแจ๊ส ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 10(2), 54–60. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/reru/article/view/176320