ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาต่อการบริหารงานในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล ของเครือข่ายโรงเรียนที่ 21 สำนักงานเขตจตุจักร สังกัดกรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษา, การบริหารงานในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล, เครือข่ายโรงเรียนที่ 21บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาต่อการบริหารงานในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล 2) เปรียบเทียบทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาต่อการบริหารงานในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล จำแนกตามระดับสถานศึกษา และ 3) ศึกษาแนวทางการเสริมสร้างทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาต่อการบริหารงานในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล วิธีดำเนินการวิจัย แบ่งเป็น 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ศึกษาทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาต่อการบริหารงานในยุคเทคโนโลยีดิจิทัลและเปรียบเทียบทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาต่อการบริหารงานในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล จำแนกตามระดับสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 176 คน กำหนดตามตารางสำเร็จรูปของ Krejcie & Morgan ได้แก่ ข้าราชการครู เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีแบบอิสระ ระยะที่ 2 ศึกษาแนวทางการเสริมสร้างทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาต่อการบริหารงานในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล
ผลการวิจัย พบว่า
- ผลการศึกษาทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาต่อการบริหารงานในยุคเทคโนโลยีดิจิทัลของเครือข่ายโรงเรียนที่ 21 สำนักงานเขตจตุจักร สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
- ผลการเปรียบเทียบทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาต่อการบริหารงานในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล จำแนกตามระดับสถานศึกษา พบว่า โดยรวมไม่แตกต่างกัน
- แนวทางการเสริมสร้างทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาต่อการบริหารงานในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล มีดังนี้ 3.1) ส่งเสริมให้บุคลากรในสถานศึกษาเข้าถึงอุปกรณ์รวมถึงสื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ ได้อย่างทั่วถึง 3.2) มีการปลูกฝังให้บุคลากรภายในสถานศึกษาพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ปัจจุบัน 3.3) เพื่อเพิ่มช่องทางในการสื่อสารภายในองค์กรมากขึ้น 3.4) ส่งเสริมการพัฒนาทักษะการจัดทำสื่อการเรียนรู้ที่ทันสมัย และ 3.5) กำหนดทิศทางและจัดหาวิธีแก้ไขปัญหาเรื่องการใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยี
References
Worathitipong, W. (2017). The future of digital images for education for basic education. Bangkok : King Mongkut's University of Technology North Bangkok.
Srisang, A. (2021). Management skills in the 21st century of school administrators based on the opinions of teachers under the Chanthaburi Primary Educational Service Area Office. Bangkok :Rambhaibarni Rajabhat University.
Noochaithong, B. (2019). The relationship between the creative leadership of school administrators and school effectiveness according to teachers' opinions under the jurisdiction of the Educational Service Area Office Surat Thani Primary Education, Area 1. Bangkok : Suratthani Rajabhat University.
Srisa-ard, B. (2017). Basic research (10th printing). Bangkok : Suviriyasan.
Education Bureau Bangkok. (2022). Schools under the jurisdiction of the Chatuchak District Office. Bangkok : Education Bureau Bangkok.
Keesukphan, E. (2021). Educational institution administration in the digital age. Bangkok : Pracharat Power Project.
Krejcie, R. V. & Morgan,D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.
Jiamthong, K. (2018). Skills of school administrators under secondary educational service area office 32 in the 21th century.Maha Sarakham : Rajabhat Maha Sarakham University.
Namnu, M. (2018). Skills of educational institution administrators in the 21st century under the Pathum Thani Primary Educational Service Area Office, Area 2. Master of Education. University of Technology Thanyaburi.
Office of the Basic Education Commission. (2021). OBEC explains guidelines for upgrading teachers' competency in language and digital technology. Bangkok: Publisher of the office of the Basic Education Commission.
Panida Jaidee. (2019). Administrative skills of the administrators of Ban Phaeo Kindergarten School (Teacher's Day 1957). Independent study, Master of Education. Silpakorn University.
Chaiyaphayaphan, P. (2021). Guidelines for developing information technology competency in the digital age of School administrators expand opportunities Educational Service Area Office Phitsanulok Primary Education, Area 1. Uttaradit : Uttaradit Rajabhat University.
Phonprasert, P. (2017). Skills of school administrators in the 21st century under the Nakhon Phanom Primary Educational Service Area Office, Area 2.Nakhon Phanom : Nakhon Phanom University.
Inthamanee, S. (2019). Educational institution administration in the digital age. Eastern University of Management and Technology Academic Journal, 16(1), 353-360.
Phothirut, S. (2021). Administrative skills of school administrators in the 21st century that affect school effectiveness. Under the jurisdiction of the Secondary Educational Service Area Office 21. Sakon Nakhon : Sakon Nakhon Rajabhat University.
Suwanno, S. and Tueanjai Dolprasit. (2017). Administrative skills of educational institution administrators in schools under Bangkok. Nong Khaem District Office. Suan Dusit Graduate School Academic Journal, 13(3), 1-12.
Nuengpha, S. (2019). Administrative skills of educational institution administrators. According to the perception of administrators and teachers Central Bangkok Group Schools under Bangkok. Bangkok : Ramkhamhaeng University.
Jiraputthakorn, W. (2022). Competency of educational institution administrators and the quality of working life of teachers. Under Bangkok Krungthon Nuea Group. Bangkok : Silpakorn University.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 ชื่นนภา ชูใจ, ระติกรณ์ นิยมะจันทร์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์เป็นของผู้ประพันธ์บทความ