การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในจังหวัดราชบุรี
คำสำคัญ:
การมีส่วนร่วมทางการเมือง , ปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม จังหวัดราชบุรีบทคัดย่อ
งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน 2) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม ความสนใจทางการเมืองที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน และ 3) เพื่อนำเสนอแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในจังหวัดราชบุรี โดยใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน วิธีวิจัยเชิงปริมาณเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามประชาชน จำนวน 339 คน ได้จากการใช้สูตรกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane สถิติที่ใช้ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ การวิธีวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญประกอบด้วยนายอำเภอจำนวน 15 คนโดยเลือกแบบเจาะจง
ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ พบว่า 1) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในจังหวัดราชบุรี อยู่ในระดับมาก (=3.88, S.D.=0.915) 2) ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในจังหวัดราชบุรี อยู่ในระดับมาก (=3.88, S.D.=0.617) และ ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ และความสนใจทางการเมืองที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมือง ในภาพรวม โดยเรียงลำดับจากมากไปน้อยได้แก่ตัวแปร ด้านการเป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม(X1) รายได้ รายจ่าย อาชีพของครัวเรือน(X4) การเข้าร่วมประชุมทางการเมือง(X9) การสละเวลาเพื่อช่วยหาเสียงเลือกตั้ง(X10) และการสมัครเข้ารับการเลือกตั้ง(X12) ตามลำดับ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ถดถอย 0.615 0.612 0.512 0.415 และ 0.315 ตามลำดับ มีค่าสัมประสิทธิ์ในการทำนาย (R2) เท่ากับ 0.757 สามารถทำนายผลได้ร้อยละ 75.7 โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สามารถเขียนสมการการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณในรูปคะแนนดิบ =5.632+0.615(X1)+0.612(X4)+0.512(X9)+0.415(X10)+0.323(X12) และสมการในรูปคะแนนมาตรฐาน มีค่าสัมประสิทธิ์ 0.618 0.541 0.524 0.422 และ 0.323 ตา
งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน 2) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม ความสนใจทางการเมืองที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน และ 3) เพื่อนำเสนอแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในจังหวัดราชบุรี โดยใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน วิธีวิจัยเชิงปริมาณเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามประชาชน จำนวน 339 คน ได้จากการใช้สูตรกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane สถิติที่ใช้ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ การวิธีวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญประกอบด้วยนายอำเภอจำนวน 15 คนโดยเลือกแบบเจาะจง
ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ พบว่า 1) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในจังหวัดราชบุรี อยู่ในระดับมาก (=3.88, S.D.=0.915) 2) ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในจังหวัดราชบุรี อยู่ในระดับมาก (=3.88, S.D.=0.617) และ ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ และความสนใจทางการเมืองที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมือง ในภาพรวม โดยเรียงลำดับจากมากไปน้อยได้แก่ตัวแปร ด้านการเป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม(X1) รายได้ รายจ่าย อาชีพของครัวเรือน(X4) การเข้าร่วมประชุมทางการเมือง(X9) การสละเวลาเพื่อช่วยหาเสียงเลือกตั้ง(X10) และการสมัครเข้ารับการเลือกตั้ง(X12) ตามลำดับ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ถดถอย 0.615 0.612 0.512 0.415 และ 0.315 ตามลำดับ มีค่าสัมประสิทธิ์ในการทำนาย (R2) เท่ากับ 0.757 สามารถทำนายผลได้ร้อยละ 75.7 โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สามารถเขียนสมการการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณในรูปคะแนนดิบ =5.632+0.615(X1)+0.612(X4)+0.512(X9)+0.415(X10)+0.323(X12) และสมการในรูปคะแนนมาตรฐาน มีค่าสัมประสิทธิ์ 0.618 0.541 0.524 0.422 และ 0.323 ตามลำดับ สามารถเขียนสมการการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณในรูปคะแนนมาตราฐานดังนี้ =0.618(X1)+0.541(X4)+0.524(X9)+ 0.422(X10)+0.323(X12) และ 3) ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในจังหวัดราชบุรี ในเชิงนโยบายรัฐบาลควรมีนโยบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับบทบาทของการร่วมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของเจ้าหน้าที่รัฐ รวมถึงการเป็นเจ้าหน้าที่พรรคการเมือง และผู้รณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง นอกจากนี้ ราษฎร เจ้าหน้าที่ของรัฐควรแสดงบทบาทเป็นเพียงการให้การสนับสนุนในด้านการจัดการเลือกตั้งโดยอำนวยความสะดวกด้านสถานที่และความปลอดภัยของประชาชน ควรวางตัวเป็นกลาง ให้ความรู้ด้านการเมืองในลักษณะของนักวิชาการ เป็นตัวแทนประชาชนในการติดต่อราชการข้ามเขตการปกครอง อำนวยความสะดวกให้กับนักข่าว ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงการสนับสนุนการเมืองภาคประชาชน
มลำดับ สามารถเขียนสมการการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณในรูปคะแนนมาตราฐานดังนี้ =0.618(X1)+0.541(X4)+0.524(X9)+ 0.422(X10)+0.323(X12) และ 3) ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในจังหวัดราชบุรี ในเชิงนโยบายรัฐบาลควรมีนโยบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับบทบาทของการร่วมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของเจ้าหน้าที่รัฐ รวมถึงการเป็นเจ้าหน้าที่พรรคการเมือง และผู้รณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง นอกจากนี้ ราษฎร เจ้าหน้าที่ของรัฐควรแสดงบทบาทเป็นเพียงการให้การสนับสนุนในด้านการจัดการเลือกตั้งโดยอำนวยความสะดวกด้านสถานที่และความปลอดภัยของประชาชน ควรวางตัวเป็นกลาง ให้ความรู้ด้านการเมืองในลักษณะของนักวิชาการ เป็นตัวแทนประชาชนในการติดต่อราชการข้ามเขตการปกครอง อำนวยความสะดวกให้กับนักข่าว ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงการสนับสนุนการเมืองภาคประชาชน
References
Khemnajit, K. (2014). Factors affecting people's participation in local government of subdistrict administrative organizations in Phetchabun Province. Journal of Humanities and Social Sciences Thonburi University, 8(17).
Kulsawat, T. et al. (2014). Model of political behavior: political participation in student elections in higher education institutions in Thailand. Journal of Politics Administration and Law, 6(3), 77-98.
Nanthawaropas, N. (2005). Political Communication: A case study of the general election campaign of the Thai Rak Thai Party. Doctor’s thesis: Thammasat University.
Niyomwet, A. (2011). Articles on political development and public participation. Bangkok: Office of the Secretariat of the Senate.
Office of the Secretariat of the House of Representatives. (2016). Intentions/policies of the Head of the National Council for Peace and Order. National assembly library of Thailand. National Council for Peace and Order.
Phan-iam, K. et al. (2023). Attitudes and behavior in exercising the right to elect members of the House of Representatives of Hua Hin Municipality community leaders. Prachuap Khiri Khan Province. Rajamangala University of Technology Rattanakosin.
Phutthasri, S. (2020). Youth Manifesto: New youth policy for the politics of young people. The 101 Percent Company Limited.
Poonyarat, P. (2020). The more oppression and suppression the people's movement becomes, the more resolute and growing it becomes. Peace News Center, Faculty of Political Science, Thammasat University.
Sriprachan, A. (2015). Factors affecting political participation of voters in local government organizations: A case study of the election of the president of the Udon Thani Provincial Administrative Organization. Study only Ban Phue District Udon Thani Province. Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University.
Stephan Maria and Erica Chenoweth. (2011). Why Civil Resistance Works: The Strategic Logic of Nonviolent Conflict. New York: Columbia University Press.
Suthijari, C. (2001). Thai politics and governance according to the people's constitution. Bangkok: V.J. Printing House.
Taro Yamane. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. (3rd edition). New York. Harper and Row Publications.
Teerawekhin, L. (2007). Evolution of Thai politics and governance. (10th edition). Bangkok: Thammasat University.
Thiamchan, B. & Wichatham, S. (2017). 20-year national strategy (2018-2037) with topics on every section, complete edition. The Law Group Publishing House.
Wonghajak, T. et al. (2014). Factors affecting the decision to elect the president of Huai Sam Phat Subdistrict Administrative Organization. Prajaksilpakom District Udon Thani Province. Master’s thesis: Udon Thani Rajabhat University.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วิมลมาศ เปี่ยมสมบูรณ์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์เป็นของผู้ประพันธ์บทความ