แนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ในกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพศูนย์การศึกษาพิเศษ กลุ่มเครือข่ายที่ 9 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

ผู้แต่ง

  • รวิวรรณ กองสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • กฤษกนก ดวงชาทม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

คำสำคัญ:

แนวทางการเสริมสร้าง, แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ  

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู 2) ศึกษาแนวการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู แบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึ่งประสงค์ของแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน ศูนย์การศึกษาพิเศษในกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพศูนย์การศึกษาพิเศษ กลุ่มเครือข่ายที่ 9 จำนวน 196 คน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม มีค่าดัชนีความสอดคล้อง 0.80 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่น 1.00 ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.36 – 0.81 ระยะที่ 2 ศึกษาแนวทางพัฒนาเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ 7 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา

          ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการแรงจูงใจในการปฏิบัติงานครู โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด ตามลำดับดังนี้  ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งการงาน ด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติ  ด้านความรับผิดชอบ ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ และด้านความสำเร็จในการทำงาน 2) แนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู คือ โปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู  ประกอบด้วย 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) เนื้อหา 4) กิจกรรมการพัฒนาและ 5) การวัดและประเมินผล มี 5 โมดูล คือ ได้แก่ โมดูล 1 ด้านความสำเร็จในงาน 2 ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ 3 ด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติ   4 ด้านความรับผิดชอบ 

5 ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งการงาน ซึ่งผลการประเมินโปรแกรมโดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความ เป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด

 

คำสำคัญ : แนวทางการเสริมสร้าง , แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน

 

References

Anannavee, P. (2008). Principles, concepts, theories in educational administration. Chonburi : Montri.

Bamrungsri, R. (2015). The use of school administrators' power affecting teacher performance motivation. Chumphon Primary Educational Service Area Office 2. Master of Education Thesis. Surat Thani Rajabhat University.

Butwara, S. (2013). Motivation for performance of secondary school teachers in Chonburi Province under the Office of Secondary Educational Service Area 18. Chonburi : Burapha University.

Chalermpong, N. (2010). Educational Professional Ethics of School Administrators and Teachers Under the Chonburi Provincial Administrative Organization. Chonburi : Burapha University.

Herzberg, F. (1968). Work and the nature of man. New York: World.

Herzberg, F.B.S. (1975). The Motivation to Work (2nd ed.). New York: Johns Wiley &Sohns.

Ja Than Tha Rang, R. (2013). Motivation for the performance of school teachers expanding opportunities Nikhom Phatthana Group Under the Office of Primary Educational Service Area Region 1, Rayong Province. Chonburi : Burapha University.

Khakklueng, C. (2014). The Development of a Service-Oriented Leadership Enhancement Program for Basic Education Administrators. Mahasarakham : Mahasarakham University.

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), pp. 607-610.

Masena, C. (2016). Human Resource Development in Education in the Next Decade. Bua Bundit Educational Administration Journal, 16(1), 9-16.

Mongkolvanich, C. (2012). Organizational management and educational personnel. Bangkok : Taweeprint.

Panyapruek, P. (2013). Performance Motivation of Secondary School Teachers in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. Chonburi : Burapha University.

Phannasee, P. (2012). Motivation for Teachers' Performance in Khok Sung District. Under the Sa Kaeo Educational Service Area Office, Region 2. Chonburi: Burapha University.

Raso, C. (2012). Motivation for the performance of personnel. Nakhon Sawan Rajabhat University. Bangkok : Srinakharinwirot University.

Sereerat, S. (2007). Consumer behavior. Bangkok : Publishing House, Thira Film and Saitek Co., Ltd.

Soisorn, S. (2015). Roles of School Administrators Affecting Teachers' Work Motivation in Ban Bueng District. Chonburi Province Under the Office of Secondary Education Service Area 18. Master's Degree Thesis, Educational Administration, Burapha University.

Sornnork, S. (2016). School teachers' performance motivation expands educational opportunities. Under the Office of Buriram Primary Educational Service Area, Region 3. Buriram : Buriram Rajabhat University.

Srisa-ard, B. (2017). Preliminary research. (10thed). Bangkok: Suweeriyasan.

Thongyiam, W. (2015). A Study of Motivation for Performance of Teachers in Sri Muang Group. Under the jurisdiction of Rayong Primary Educational Service Area Office 1. Chonburi : Burapha University.

Thongyiam, W. (2016). Motivation for the performance of teachers of the Sri Muang group under the Office of Rayong Primary Educational Service Area 1. Chonburi : Burapha University.

Vroom, V. H. (1970). Work and Motivation. York: John Willey & son.

Yodmalee, K. (2015). The relationship between teacher performance motivation and school effectiveness under Chanthaburi Primary Educational Service Area Office 1. Chonburi : Burapha University.

Yodsala, S. (2013). Visionary Leadership Development of Elementary School Administrators. Under the Office of the Basic Education Commission. Mahasarakham : Mahasarakham University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-21

How to Cite

กองสอน ร. ., & ดวงชาทม ก. (2023). แนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ในกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพศูนย์การศึกษาพิเศษ กลุ่มเครือข่ายที่ 9 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. Journal for Developing the Social and Community, 10(2), 101–120. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rdirmu/article/view/261939