ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาสมรรถนะของนักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามในศตวรรษที่ 21

ผู้แต่ง

  • สุธินี อัตถากร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • สิริกัญญา เสติ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • พิชิต เปลี่ยนขำ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • ชาคร คัยนันทน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • ยุวเรศ หลุดพา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

คำสำคัญ:

สมรรถนะ, นักศึกษา, คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะของนักศึกษาหลักสูตร
รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม และ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาสมรรถนะของนักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เพื่อนำมาสังเคราะห์เป็นแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะของนักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม การวิจัยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาชั้นปีที่ 2-3 จำนวน 120 คนผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีระดับสมรรถนะในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีระดับสมรรถนะมากที่สุดคือ ด้านคุณธรรมและจริยธรรม (= 4.27, S.D. =0.51) ส่วนสมรรถนะที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ ทักษะด้านภาษาอังกฤษ (= 3.22, S.D. =0.72) ส่วนปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาสมรรถนะของนักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ได้แก่ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของนักศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของผู้ที่รับผิดชอบค่าเล่าเรียนที่มีความสัมพันธ์แบบพหุคูณกับการพัฒนาสมรรถนะของนักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ (R) เป็น 0.79 และสามารถพยากรณ์การพัฒนาสมรรถนะของนักศึกษา หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (R2) หรือสามารถอธิบายความจริงได้ร้อยละ 62.40 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์ เท่ากับ +- .297

References

Bellanca, J. & Brandt, R. (2010). 21st Century Skills: Rethinking How Students Learn. Bloomington: Solition Tree Press.

Bloom, Benjamin S. (1976). Human Characteristics and School Learning. New York : McGraw-Hill.

Kampiranon, S., et al. (2017). Developing a model for promoting learning and teaching and learning management in the Public Administration Curriculum that aims to respond to 21st century learning skills: a case study of specific courses in Public Administration Curriculum Faculty of Humanities and Social Sciences , 11th National Academic Conference “Humanities and Social Sciences in Thailand 4.0. Chonburi : Burapha University.

Kay, K. (2010). 21st Century Skills: Why the Matter, What They are, and How We Get There. In Bellanca, J. & Brandt, R. (Eds.), 21st Century Skills: Rethinking How Students Learn. Bloomington, In: Solution Tree Press.

Kuha, A. & Yongyuan, B. (2004). Factors Affecting Learning Achievement Under Observation of Prince of Songkla University Students Pattani Campus. Pattani : Prince of Songkla University Pattani Campus.

Office of the Higher Education Commission. (2009). Training course for students to promote and support educational quality assurance within higher education institutions. Bangkok : Parbpim Printing.

Panich, V. (2012). Enjoy learning in the 21st century. Bangkok : Sodsri-Saritwong Foundation.

Rotjanalert, N. (2018). A Study on Learning Competencies of Education Students in Silpakorn University. Silpakorn Educational Research Journal, 10(1),11-27.

Sangraksa, N. (2013). “Quality of Education and Learning Skills in the 21st Century: Missions to Review?” in a commemorative book on the occasion of the 10th anniversary “A Decade of Developing Silpakorn Students. Nakhon Pathom : Silpakorn University.

Seenon, M. (2015). An Analysis of Thai 21st Century Education Administration with the System Theory of Education Administration. Innovative Newsletter Institute for Innovative Learning, 10, 40 (October - December): 3-5.

Thanormchayathawat, B., et al. (2016). 21st Century Skills: A Challenge for Student Development. The Southern College Network Journal of Nursing and Public Health, 3(2), 208-222.

Weelasin, W. & Inbueng, L. (2020). Guidelines for developing the identity of graduates in Public Administration Northeastern University Khon Kaen Province. Journal of Modern Learning Development, 5(1), 108-124.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-08-02

How to Cite

อัตถากร ส. ., เสติ ส. ., เปลี่ยนขำ พ. ., คัยนันทน์ ช. ., & หลุดพา ย. . (2022). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาสมรรถนะของนักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามในศตวรรษที่ 21. Journal for Developing the Social and Community, 9(2), 61–74. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rdirmu/article/view/256366