การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมโดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E และแบบประเมินความสามารถทักษะทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนอนุบาลสามเสน (สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาลอุปถัมภ์)

ผู้แต่ง

  • จุรีพร วงศ์แสง มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
  • ศศิธร เจียงพัฒนากิจ โรงเรียนอนุบาลสามเสน
  • สิริมณี บรรจง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

กระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E, ทักษะทางวิทยาศาสตร์, การทดลอง

บทคัดย่อ

          การเรียนรู้วิทยาศาสตร์มีความสำคัญกับเด็กในระดับปฐมวัยเพราะวิทยาศาสตร์จะช่วยพัฒนาคุณลักษณะตามวัยของเด็กปฐมวัยทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์และจิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญางานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและหาคุณภาพแผนการจัดกิจกรรมโดยใช้กระบวนการสืบเสาะ หาความรู้แบบ 5E สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนอนุบาลสามเสน (สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาลอุปถัมภ์) และ2) เพื่อสร้างและหาคุณภาพแบบประเมินความสามารถทักษะทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนอนุบาลสามเสน (สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาลอุปถัมภ์) กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาปฐมวัย จำนวน 5 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมโดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E และแบบประเมินทักษะทางวิทยาศาสตร์ โดยสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคำถามและวัตถุประสงค์ (IOC) และค่าสัมประสิทธิ์ควอไทล์ (IR) ผลการศึกษาพบว่า 1) แผนการจัดกิจกรรมโดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E เพื่อพัฒนาความสามารถทักษะทางวิทยาศาสตร์ มีคุณภาพความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{x} = 4.99, S.D. = 0.02, IR = 0.00) และ 2) แบบประเมินทักษะทางวิทยาศาสตร์ มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์ (IOC) ผ่านเกณฑ์ทุกข้อ โดยข้อคำถามมีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.60 - 1.00 

References

Chanmanee, R. (2018). Using theories to organize activities to promote life skills for early childhood. [Online]. https://wbscport.dusit.ac.th. [3 March 2020]

Chemae, S. (2017). The Learning Experiences by using a Set of Science Experiment Activities to Develop Scientific Process Skills for Preschool Children in 3rd Kindergarten. Journal of Educational Technology and Communications Facutly of Education Mahasarakham University, 3(8), page 51.

Chotchadet, J. (2017). A Learning Experience By using Science Activity Sets to Develop Basic Science Process Skills for Kindergarten Students of the 3rd year. Journal of Educational Technology and Communications Facutly of Education Mahasarakham University, 3(7), page 153 – 164.

Fongsri, P. (2015). Classroom Research: Principles and Practical Techniques. (10thed). Bangkok: DARN SUTHA PRESS Company limited.

Khangkasikarn, P. (2018). The effects of experience provision of the inquiry process on observation skills and classification skils of preschool children Master of Thesis: Nakhon Sawan Rajabhat University.

Kitkrachang, S. (2019). Results of Learning Experiences Emphasizingon Engineering Design Towards Science Process Skills and Creativity Skills of Pre-School Children. Journal of Management Science Review Vol. 21 No. 2 July –December 2019.

Leekitchwatana, P. (2016). Educational research methods. (11thed). Bangkok: Meen Service Supply.

Parimit, P and Newvarat, K. (2021). “Causal Factors Influencing Cross-cultural Understanding In 21th Century Human Skills of Mathayom Susa 1 in Marginalized Secondary School Groups, Chiang Rai Province” Interdisciplinary Academic and Research Journal, 1 (3), 21-34.

Ruechai, B and Panyanak, L. (2021). “The Study of Coaching Technique for Developing Teaching and Learning the Chinese Language”. Interdisciplinary Academic and Research Journal, 1 (3), 35-45.

Samawatana, S. (2017). Developing science process skills and communication skills in early childhood using 5E experience. Master of Thesis: Pibulsongkram Rajabhat University.

Srisaat, S. (2016). The Importance of science. [Online] https://sasiwimol.com. [20 March 2020]

Thapmon, K. (2016). The development of an experiential model based on. Brain-based and cooperative learning for. Science process skills for early childhood students. Journal of education naresuan university, 18(2), page 25.

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. (2020). Science, Technology, and Mathematics Learning Framework at the Early Childhood Level. Bangkok: CoCo Printing Co., Ltd.

Worakham, P. (2016). Educational research. Maha SakhamTaxila printing.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-11-12

How to Cite

วงศ์แสง จ., เจียงพัฒนากิจ ศ. ., & บรรจง ส. (2021). การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมโดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E และแบบประเมินความสามารถทักษะทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนอนุบาลสามเสน (สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาลอุปถัมภ์). Journal for Developing the Social and Community, 8(2), 399–410. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rdirmu/article/view/251356