การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติฟ้อนออนซอนสาดบ้านแพง สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามแนวคิดของแฮร์โรว์

ผู้แต่ง

  • จริยา อันเบ้า มหาบัณฑิต คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • พิทยวัฒน์ พันธะศรี
  • สมาน เอกพิมพ์

คำสำคัญ:

ทักษะปฏิบัติฟ้อนออนซอนสาดบ้านแพง, ทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์, ความพึงพอใจ

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ทักษะปฏิบัตินาฏศิลป์ฟ้อนออนซอนสาดบ้านแพง สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามแนวคิดของแฮร์โรว์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะที่มีประสิทธิภาพ E1/E2 กำหนดเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อศึกษาทักษะปฏิบัตินาฏศิลป์ฟ้อนออนซอนสาดบ้านแพง สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามแนวคิดของแฮร์โรว์ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ต่อการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ทักษะปฏิบัตินาฏศิลป์ฟ้อนออนซอนสาดบ้านแพง สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามแนวคิดของแฮร์โรว์  กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในงานวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเขวาไร่ศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 จำนวนนักเรียน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบประเมินทักษะปฏิบัติ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจสถิติใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test (Dependent sample)

       ผลการวิจัยพบว่า 1) การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ทักษะปฏิบัตินาฏศิลป์ฟ้อนออนซอนสาดบ้านแพง สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามแนวคิดของแฮร์โรว์ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.00/89.19 แสดงให้เห็นว่าการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ทักษะปฏิบัตินาฏศิลป์ฟ้อนออนซอนสาดบ้านแพง สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามแนวคิดของแฮร์โรว์ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้ 2) นักเรียนที่เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ทักษะปฏิบัตินาฏศิลป์ฟ้อนออนซอนสาดบ้านแพง สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามแนวคิดของแฮร์โรว์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ทักษะปฏิบัตินาฏศิลป์ฟ้อนออนซอนสาดบ้านแพง สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามแนวคิดของแฮร์โรว์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.81 อยู่ในระดับมากที่สุด

References

References

Boonchom Srisa-ard. (2011). Introduction research. 9th edition. Bangkok : Suree Wittayasan.

Chatsiri Piyapimonsi. (2001). Statistics: definition and types. [Online] http://www.watpon.com/Elearning/stat1.htm. [10 August 2020]

Fine Arts Department. (2000). Fundamentals of Thai Dramatic Arts. Bangkok: Fine Arts Department.

Harrow, A. (1972). A Taxonomy of the Psychomotor Domain: A Guide for Developing Behavioral Objectives. New York: Longman.

Khwa Rai Suksa School. (2018). A summary report of academic results. Mahasarakham: Kosum Printing.

Maliwan Notesiri. (2009). Creation of teaching kits for the development of basic dance skills, grade 5. Master of Education Thesis (Curriculum Development and Teaching): Udon Thani Rajabhat University.

Molee Srisanyong. (2001). Lesson plan for the course of aesthetics in dance and performing arts. Mahasarakham: Rajabhat Maha Sarakham University.

Narumon Meechai. (1992). Satisfaction in the performance of teachers under the Office of Primary Education, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. Master of Education Thesis (Educational Administration): Burapha University.

Office of Academic and Educational Standards. (2004). Guidelines for learning management according to the core curriculum of basic education 2008. Bangkok: Printing House, The Agricultural Cooperative Assembly of Thailand.

Pharaphat Chumsotr. (2008). Educational innovation development, "The effect of using the traditional dance skills practice", "The subject of creative dance", the art learning group, Mathayom Suksa 1, Bang Chan School (Pluem Wittayanusorn). Master of Education Thesis: Bangkok University.

Pimpilaporn Wankham. (2010). Organizing a learning activity on the topic of "Sheng San Kradong" Grade 4, Ban Chiang Pheng School based on the concept of Davies. Master of Education Thesis (Curriculum Development and Teaching): Mahasarakham University.

Tisana Khammani. (2002). Teaching style: multiple choices. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Umaree Nasomtong. (2016). The Development of Learning Activity for Enhancing Performance-Skill in Dramatic Arts on The Invention of Stylistic Dancing Movements with The Song in Learning Area of Arts for PrathomSuksa 6 Students. Master of Education Thesis (Curriculum Development and Teaching): Rajabhat Maha Sarakham University.

Wiwat Petsri. (2009). THE DEVELOPMENT OF AN INSTRUCTIONAL MODEL OF DRAMATIC ARTS TO ENHANCE CREATIVE THINKING FOR PRIMARY LEVEL 2 STUDENTS. Ph.D. thesis: Burapha University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-11

How to Cite

อันเบ้า จ. ., พันธะศรี พ. ., & เอกพิมพ์ ส. . (2020). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติฟ้อนออนซอนสาดบ้านแพง สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามแนวคิดของแฮร์โรว์ . Journal for Developing the Social and Community, 7(2), 101–116. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rdirmu/article/view/240657