กระบวนทัศน์ใหม่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

ผู้แต่ง

  • วัชราภรณ์ ทวีกุล วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

คำสำคัญ:

กระบวนทัศน์ใหม, มหาวิทยาลัยราชภัฏ, การพัฒนาท้องถิ่น

บทคัดย่อ

มหาวิทยาลัยราชภัฏจะพัฒนาเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามหลักการของ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 อย่างแท้จริงจ าเป็นต้องปรับตัวในหลายมิติ ดังนี้ (1) การวางนโยบายและการบริหาร ; ควรเสริมสร้างแนวนโยบายในการบริหารมหาวิทยาลัยเพื่อให้ สอดคล้องกับภารกิจของมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น (2) การผลิตบัณฑิต; ควรปรับปรุงหลักสูตร ให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของท้องถิ่นนั้นๆ (3) การวิจัย; วางแนวทางส่งเสริมการวิจัยโดย การตั้งกรอบการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นโดยเฉพาะ (4) การบริการวิชาการ : ควรมีการก าหนดแผนกลยุทธ์เกี่ยวกับการบริการวิชาการโดยมีการก าหนดหน่วยงานขึ้นเฉพาะเพื่อท า หน้าที่บริการวิชาการ (5) การท านุบ ารุง ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น : ควรมีการค้นคว้าวิจัยและเก็บรวบรวม ข้อมูลเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อ น ามายกระดับเป็นสินค้าวัฒนธรรมให้เกิดมูลค่าเพิ่ม (6) การ อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม : ควรมีการจัดการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง (7) การ ปรับปรุงถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม : ควรเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีและ นวัตกรรมให้กับชุมชน และ (8) การพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยและท้องถิ่น: ควรมีการ ส่งเสริมให้คนในท้องถิ่นรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง เป็นต้น

References

จรัส สุวรรณเวลา. (2551). ความเป็นอิสระของมหาวิทยาลัยไทย. กรุงเทพ ฯ : จุฬาลงกรณ์.

ทศพร ศิริสมัพันธ์. (2549). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารราชการแนวใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพ ฯ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.

นิตยา พรหมวนิช. (2547). การสังเคราะห์การปรับบทบาทของสถาบันราชภัฏ. วิทยานิพันธปริญญา ครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพ ฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปรีชา อุยตระกลู, ชคัตตรัย รยะสวัสดิ์, เอกรัตน์ เอกศาสตร์, และพชัชยา ทรงเที่ยงไชย. (2551). การ ปฏิรูปการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสมีา โดยใช้กระบวนการจัดการความรู้. ทุนอุดหนุนงบประมาณแผ่นดิน : มหาวิทยาลยัราชภฏันครราชสีมาผดุงชาติ.

ราชกิจจานุเบกษา. (2538). พระราชบัญญัตสิถาบันราชภฏั พ.ศ. 2538. ฉบับกฤษฎีกา 112 ตอนที่ 4 ก : หน้า 1 - 21.

ราชกิจจานุเบกษา. (2547). พระราชบัญญัติมหาวิทยาลยัราชภฏั พ.ศ. 2547. กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ ์ คณะรัฐมนตรี.

วรวุฒิ โรมรัตนพันธ์. (2548). ทนทางสังคม. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์เตือนตุคา

วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์. (2559). “เปิดมุมมองปัญหาการศึกษาไทยสู่แนวทางพัฒนาการศึกษาที่มี คุณภาพ”, วารสารวิจัยเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน มหาวิทยาลยัราชภัฏมหาสารคาม, 3 (2) : กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 – กรกฎาคม พ.ศ. 2559

สงบ ลักษณะ. (2545). แนวคิดเกยี่วกับการใช้เทคโนโลยีช่วยการเรยีนรู้. หน้า 31 - 34. ในการประชมุ ใหญ่ สามญัประจําปี 2545 และประชุมวิชาการห้องสมุดยุคใหม่ : ผนู้ําแห่งการเรยีนรู้. กรุงเทพ ฯ : สมาคมห้องสมดุแห่งประเทศไทย.

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2547). พระราชบัญญตัิมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547. กรุงเทพ ฯ : สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

อุบลวรรณ กิจคณะ และประสพสขุ ฤทธิเดช. (2557). “การปฏิรปูการศึกษาด้วยการเสริมสรา้งศักยภาพ การเรยีนรู้การคิดแก้ปัญหา”. วารสารวิจัยเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม, 1 (1) : สิงหาคม พ.ศ. 2556 - มกราคม พ.ศ. 2557

Van, Dusen. (1997). Virtual Campus: Technology and Reform in Higher Education. [Online] https://www.gov/databases/ERICDigests/ed412815.html [25 November 2006]

เผยแพร่แล้ว

2016-12-31

How to Cite

ทวีกุล ว. (2016). กระบวนทัศน์ใหม่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น. Journal for Developing the Social and Community, 3(3), 20–34. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rdirmu/article/view/211934