การพัฒนาการรู้คณิตศาสตร์ด้วยวิธีการสอนแบบบูรณาการ

ผู้แต่ง

  • Assoc. Prof. Dr. Sombat Tayraukham วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • Kanjana Jitkangwan วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • Wacharapong Rakapang วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

คำสำคัญ:

วิธีการสอนแบบบูรณาการ, การบูรณาการเชิงเนื้อหา, การบูรณการเชิงวิธีการ

บทคัดย่อ

ความเจริญก้าวหน้าทำวิทยาศาสตร์ตร์และเทคโนโลยีส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรมและเศรษฐกิจของทุก ๆ ประเทศจึงจำเป็นที่ทุกคนในสังคมต้องมีความรู้ ความสามารถเท่าทีัน สถานการณ์ของโลกโดยเฉพาะความรู้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ซึ่งนำไปสููู่่่เครื่องมือสำคัญ สำหรับการดำเนินชีวิตได้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตามการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ในปัจจุบันไม่ ค่อยจะประสบผลสำเร็จเท่าที่ควรเนื่องจากการจัดการเรียนการสอนไม่ค่อยสอดคล้องกับสภาพการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปมา ดังนั้นการพัฒนาการรู้คณิตศาสตร์ให้ได้ผลดีจึงตองอาศัยการเรียนการสอนแบบ บูรณาการทั้งการบูรณาการเชิงเนื้อหาและการบูรณการเชิงวิธีการ

References

ธงชัย ชิวปรีชา. (2555). สาเหตุทคี่ะแนน PISA ตกต่่า. [Online] https://www.kruwandee.com/news-id474.html. [20 ตุลาคม 2555]

พิณสดุา สริธรังศรี. (2557). “ข้อเสนอการยกระดบัคณุภาพครูไทย ในศตวรรษที่ 21” วารสารวิจัย เพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน มหาวทิยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 1 (2) : กุมภาพันธ์ - กรกฎาคม 2557

รุ่งลาวัลย์ ละอ าคา. (2558). “รูปแบบการเรียนการสอนโดยสรร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ : เสนทาง แห่งปัญญาเพื่อการพัฒนาครูและศิษย์”. วารสารวิจัยเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน มหาวิทยาลัย ราชภัฏมหาสารคาม, 2 (2) : กุมภาพันธ์ - กรกฎาคม พ.ศ. 2558

สิริพัชร์ เจษฎาวิโรจน์. (2546). การจัดการเรยีนการสอนแบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ: บุ๊ค พอยท์.

สุกัลยา อุบลรตัน์. (2554). ผลการจัดการเรียนรู้คณติศาสตร์แบบบูรณาการเชิงวิธีการซึ่งสอดคล้องกับ ความสามารถ ทางพหุปัญญาที่มีตอ่ผลสมัฤทธิ์ทางการเรยีน ความสามารถในการคดิอย่างมี เหตุผล เรื่อง ก่าหนดการเชิงเส้น และความภาคภูมิใจในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. ปรญิญาการศึกษามหาบณัฑติ สาขาวิชาการมัธยมศึกษา กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ.

สุณิสา สมุิรัตนะ. (2555). การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการรู้คณิตศาสตร์ของ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้แนวคิดการศึกษาคณิตศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริงและกระบวนการแก้ปัญหา DAPIC. วิทยานิพันธปริญญาครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตร และการสอน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อภิชาต ศรีภาค์. (2555). มุมมองเพื่อพัฒนาสังคมและคณุภาพการศกึษา. [Online] https://sripaapi.blogspot.com/.[20 ตุลาคม 2555]

Eggen and Kauchak. (2001). Strategies for teachers: teaching content and thinking skills. 4th ed. Massachusetts: Allyn and Bacon.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-12-31

How to Cite

Tayraukham, A. P. D. S., Jitkangwan, K., & Rakapang, W. (2016). การพัฒนาการรู้คณิตศาสตร์ด้วยวิธีการสอนแบบบูรณาการ. Journal for Developing the Social and Community, 3(3), 11–20. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rdirmu/article/view/211932