ผลกระทบการเลือกใชั้นโยบายบัญชีที่สำคัญที่มีต่อคุณภาพกำไร ของบริษัทจำกัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย
คำสำคัญ:
การเลือกใช้นโยบายบัญชีที่สำคัญ, คณุภาพกำไร, บริษทัจำกัดบทคัดย่อ
การเปิดเผยนโยบายบัญชีที่สำคัญของบริษัทจำกัดในการจัดทางบแสดงฐานะทางการเงินและผลการดำเนินงานให้เป็นที่น่าเชื่อถือ และถูกต้องนั้น จะต้องให้ความสำคัญเกี่ยวกับกำไรที่มีคุณภาพ เพราะเป็นสิ่งที่บ่ง บอกและแสดงถึงความสามารถในการบริหารจัดการภายในองค์กรได้เป็นอย่างดี ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบการเลือกใชั้นโยบายบัญชีที่สำคัญที่มีต่อคุณภาพกำไร โดยมีวัตถุประสงค์
(1) เพื่อศึกษาการเลือก ใชั้นโยบายบัญชีที่สำคัญของบริษัทจำกัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย
(2) เพื่อ ศึกษาเกี่ยวกับคุณภาพกำไรของบริษัทจำกัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย
(3) เพื่อศึกษา ผลกระทบระหวาง การเลือกใชั้นโยบายบัญชีที่สำคัญและคุณภาพกำไรของบริษัทจำกัดภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทยผู้วิจัยกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือบริษัทจำกัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย จำนวน 106 บริษัท การดำเนินการเก็บ รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณและการสร้าง สมการพยากรณ์ ผลการวิจัย พบว่า การเลือกใชั้นโยบายบัญชีที่สำคัญ ด้านหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และด้าน ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ มีผลกระทบเชิงบวกกับคุณภาพกำไร ดังนั้นบริษัทจำกัดควรให้ความสำคัญเกี่ยวกับการนำเสนอและบริหารจัดการกำไรเพราะคุณภาพกำไรจะขึ้นอยู่กับความเกี่ยวข้องต่อการตัดสินใจของข้อมูล จึงต้องทำให้บริษัทเล็งเห็นความสำคัญของการเลือกวิธีการปฏิบัติ และการนำนโยบายบัญชี ที่สำคัญมาใช้ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบัน
References
ช่อทิพ โกกิม. (2547). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความแตกต่างของคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. ชลบุรี : วิทยานิพันธ . มหาวิทยาลัยบรูพา.
ปาริชาติ มณีมัย และศันสนยี์ ศรวีรเดช ไพศาล. (2552). การจัดการกำไรของธุรกิจที่ประสบปัญหาทาง การเงินซึ่งอยู่ระหวางการเจรจาเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้. ปีที่ 29 ( เดือนตุลาคม), ฉบับที่ 4:1.
วรศักดิ์ ทมุมานนท์ . (2549). มิติใหม่ของงบการเงินและการวิเคราะห์ . กรุงเทพฯ : บริษัท ธรรมนติ เพรส จำกัด
วริศรา ดวงตาน้อย. (2549). การวิเคราะห์คุณภาพกำไรของธุรกิจกลุ่มพลังงานและสาธุารณูปโภคในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. เชียงใหม่ : วิทยานิพันธ . มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ศุภวรรณ์ ธรรมชัยเดชา. (2547). การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับนนโยบายบัญชีเรื่องการรับรู้ รายได้ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 ของบริษัทในกลุ่มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ : การศึกษาอิสระ. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
สภาวิชาชีพบัญชีในพระราชูปถัมภ์ (2552). มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 8 เรื่อง นโยบายการบัญชีการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางการบัญชีและข้อผิดพลาด. กรุงเทพฯ : สภาวิชาชีพบัญชีในพระ ราชูปถัมภ์ .
สัจจวัฒน์ จันทร์หอม. (2554). คุณภาพกำไรของบริษัทที่มีโครงสร้างการถือหุ้นและการบริหารงานโดย ครอบครัว. กรุงเทพฯ : การศึกษาอิสระ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .
สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดมหาสารคาม. (2556). สรุปรายชื่อบริษัทจำกัดที่จดทะเบียน ประจำปี 2556. มหาสารคาม : สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้า.
Dechow, Ge and Schrand. (2009). Understading earnings quality: A review of the proxies, their determinants and their consequences. Journal of Accounting and Economics, 50, 344-401.
Demerjan, R., Lev Baruch., Lewis, F., Mcvay, E., (2013). Managerial Ability and Earnings Quality. American Accounting Association. Vol. 88, No.2, pp. 463-498.
Demirkan. (2014). Implications of strategic alliances for earnings quality and capital market investors. Journal of Business Research, 1806-1816.
Ernst & Young. (2002). A Study on Basic Structure of Accounting. Information System for Thai Hospital, 25-57.
Iuliana Cenar. (2012). Accounting policies and Estimates in municipalities Between norms and Reality. Annals of the University of Petroşani, Economics, 12(1), 49-60.
Jermakowicz, K., Reinstein., & Churyk. (2014). IFRS framework-based case study: Daimlerchrysles – Adopting IFRS accounting policies. Journal Accounting Education, 288-304.
Karapinar., Zaif., & Torun. (2012). Accounting Policies in the Extractive Industry : A Global And A Turkish Perspective. Australian Accounting Review No. 6, Vol. 22 Issue 1, 40-50.
Lee. Li. And Yue. (2006). Performance, Growth and Earnings Management. Springer Science Business Media, 305-334.
Popa Dorina Nicoleta., Belenesi Marioara., Merter loana Jeodora. (2012). An Investigative Study Regarding SMEs Specific Accounting Policies. Procedia – Social and Behavioral Sciences 62, 347 – 351.
Veeken, J.M. HenkVander and J. F. Wouters Mare. (2002). Using Accounting Information System by operation Managers in a Project Company. http://www.sciencedirect.com/science?_ob=ArticleURL&udi=B6WMY-46WNYCF> 8 April, 2002.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์เป็นของผู้ประพันธ์บทความ