จลนศาสตร์การอบแห้งเมล็ดแตงโมพันธุ์ WM-104ด้วยคลนไมโครเวฟ

ผู้แต่ง

  • ทัศนียา นาเสงี่ยม นักศึกษา สาขาฟิสิกส์ คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • มัสยา นันทรัตน์ นักศึกษา สาขาฟิสิกส์ คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • ภานุวัฒน์ สังฆมะณี นักศึกษา สาขาฟิสิกส์ คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • วสันต์ ปินะเต อาจารย์ประจําสาขาฟิสิกส์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • มะลิ นาชัยสินธุ์ อาจารย์ประจําสาขาฟิสิกส์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • วนิดา ผาระนัด อาจารย์ประจําสาขาฟิสิกส์คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

คำสำคัญ:

จลนพลศาสตร์การอบแห้งเมล็ดแตงโม, คลื่นไมโครเวฟ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีจุดมุ่หมายเพื่ออศึกษาจลนศาสตร์การอบแห้งเมล็ดแตงโมพันธุ์ WM-104 ด้วยคลื่นไมโครเวฟ
โดยใช้ระดับพลังงานคลื่นไมโครเวฟ 3 ระดับ คือ 500, 600, 700 วัตต์ตามลำดับ ทำการอบแห้งเมล็ดแตงโมโดยมีความชื้น
เริ่มต้นเท่ากับ 345±0.11 gwater/gdry matter จนกระทั่งมีค่าความชื้นสุดท้ายประมาณ 12-13เปอร์เซ็นต์มาตรฐานแห้ง แล้วทำ
การตวรจสอบคุณภาพ ได้แก่การเปลี่ยนแปลงสีค่าปริมาณน้ำอิสระอัตราการงอกของเมล็ด และการเจริญเติบโตของเมล็ด
จากผลการทดลอง พบว่า อัตราการอบแห้งจะเพิ่มขึ้นเมื่อการเพิ่มระดับพลังงานคลื่นไมโครเวฟสูงขึ้น การอบแห้งที่ระดับ
พลังงานคลื่นไมโครเวฟต่ำจะให้ค่าความสว่างน้อยกว่าการอบด้วยระดับพลังงานคลนไมโครเวฟสืู่ง ความเป็นสีเหลืองมีค่าสูงขึ้น
ส่วนค่าความเป็นสีแดงแตกต่างกันเพียงเล็กันอยู่ ค่าปริมาณน้ำอิสระมีค่าอยู่ระหวาง 0.36-0.42 อัตราการงอกและค่าร้อย
ละการเจริญเติบโตของเมล็ดแตงโมมีแนวโน้มในลักษณะเดี่ยวกัน คือที่ระดับพลังงานคลื่นไมโครเวฟต่ำให้ค่าใกล้เคียงกับเมล็ด
แตงโมอ้างอิง

References

กรมส่งเสริมการเกษตร. (2549). มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน. 10 ตุลาคม 2549.

<http://www.tisi.go.th/otop/pdf_file/tcps1145_49.pdf>; สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2557.

นิดดา หงส์วิวัฒน์และทวีทอง หงส์วิวัฒน์ . (2550). แตงโม ใน ผลไม้ 111 ชนิด : คุณค่าอาหารและการกิน.

กทม. แสงแดด. หน้า 77 - 80

ฤทธิชัย อัศวราชันย์ . (2554). การอบแห้งผลผลิตทางการเกษตรด้วยคลื่นไมโครเวฟ.วิศวกรรมสารเกษมบัณฑิต 1, 31-42.

ฤทธิชัย อัศวราชันย์ , ภานาถ แสงเจริญรัตน์ , สุเนตร สืบค้า, เฑียรมณี มั่งมูล และดวงกมล จนใจ. (2554). จลนพลศาสตร์
การด้วยลมร้อนของเปลือกทับทิม. วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย. 17, 27-34.

วิไล รังสาดทอง. (2547). เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ,

Assawarachan, R., Sripinyowanich, J., Theppadungporn, K.andNoomhorm, A. (2011). Drying paddy by
microwave vibro-fluidized drying using single mode applicator. International Journal of Food,
Agriculture & Environment. 9, 50-54.

Dadal, G., Apar, D. K. andิ zbek, B. (2007). Microwave drying kinetics of okra. Drying Technology 25, 917-
924"
Dadali, G., Demirhan, E. andิ zbek, B. (2007). Color kinetics of spinach undergoing microwave drying"
Drying Technology. 25, 1713-1723.

Dominguez, I.L. and others. (2006). Thermodynamic analysis of the effect of water activity on the
stability of macadamia nut. Journal of Food Engineering. 81, 566-571.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2015-01-31

How to Cite

นาเสงี่ยม ท., นันทรัตน์ ม., สังฆมะณี ภ., ปินะเต ว., นาชัยสินธุ์ ม., & ผาระนัด ว. (2015). จลนศาสตร์การอบแห้งเมล็ดแตงโมพันธุ์ WM-104ด้วยคลนไมโครเวฟ. Journal for Developing the Social and Community, 2(1), 80–85. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rdirmu/article/view/211420