การเกษตรแบบพันธสัญญา : ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเพื่อลดความเสี่ยง ของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อของไทย
Abstract
อุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่เนื้อถือเป็นอีกอุตสาหกรรมีหนึ่งที่มีความสำคัญในประเทศไทยซึ่งในประเทศไทยมีทั้ง
ผู้ประกอบการฟาร์มเลี้ยงไก่เนื้อรายใหญ่เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อที่เป็นฟาร์มีขนาดเล็กและเกษตรกรผู้เลี้ยงแบบครัวเรือนอยู่
จำนวนมากซึ่งเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อที่เป็นฟาร์มีขนาดเล็กและเกษตรกรผู้เลี้ยงแบบครัวเรือันมกไม่ชอบความเสี่ยงหรือความ
แปรปรวนด้านผลผลิต หรือราคาการเกษตรแบบพันธสัญญาจึงเป็นทางเลือกที่สำคัญอีกทางหนึ่งสำหรับเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่
ซึ่งแม้ว่าการเกษตรแบบพันธสัญญาที่เป็นทางเลือกดังกล่าวจะมีทั้งผลดีและผลเสียต่อภาคเกษตรกรรมทั้งเกษตรกรและนายทุน
เองก็ตาม
ดังนั้นในบทความนี้จึงขอนำเสนอการเกษตรแบบพันธสัญญา : ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเพื่อลดความเสี่ยง
ของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อของไทยเพื่อใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการพัฒนาการเกษตรแบบพันธสัญญา ให้มีความเหมาะสม
กับเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อของไทยโดยบทความมีเนื้อหาสาระประกอบด้วยความหมายของเกษตรแบบพันธสัญญาสาเหตุที่เกิด
เกษตรแบบพันธสัญญารัฐบาลกับการช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวกับเกษตรแบบพันธสัญญา การยอมรับเกษตรแบบพันธสัญญา กรณี
เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อของไทย การนำแนวคิดเศรษฐศาสตร์สถาบันและเศรษฐศาสตร์จุลภาคมาใช้การแก้ไขปัญหาเกษตรกรผู้
เลี้ยงไก่เนื้อด้วยการเกษตรแบบพันธสัญญา ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเพื่อลดความเสี่ยงของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อของ
ไทย
References
กลุ่มงานเศรษฐกิจการปศุสัตว์กองส่งเสริมการปศุสัตว์กรมปศุสัตว์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ . (2539). การผลิตและ การตลาดไก่เนื้อ : สถานภาพและแนวนโยบาย. กรุงเทพฯ : ชุมนุสหกรณ์ณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
ชีวิน อริยะสุนทร. (2555). เกษตรพันธสัญญากับการปรับตัวทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกรและชุมชน : ศึกษากรณี การเลี้ยงไก่เนื้อ ตำบลท้ายตลาด อำเภอเมืองจังหวัดลพบุรี. วิทยบริการ, 23 (2),89"
ณัชฐาภรณ์ เลียมจรัสกุล. (2552). ซีพีกับอุตสาหกรรมไก่เนื้อ. ในซีพีกับเกษตรกรรมไทย. กลุ่มติดตามบทบาทบรรษัท., หน้า 79-108. กรุงเทพฯ : มูลนิธิชีววิถี.
นนท์ นุชหมอน. (2556). เกษตรพันธสัญญา : ภาพรวมและบทสำรวจประเด็นปัญหาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานปฏิรูป.
นักสื่อสารแรงงาน. (2555). เกษตรกรขอนแก่นเสนอเกษตรพันธสัญญาที่ปลอดภัย- เป็นธรรม. วันที่ค้นข้อมูลเมื่อ 5 มี.ค. 2557. เข้าถึงข้อมูลได้จาก http://www.voicelabour.org.
บุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล และคณะ.(2549). เกษตรพันธสัญญากับโอกาสการพัฒนาของเกษตรกรรายย่อย. รายงานการประชุมวิชาการศวพก. ปี 2549. ม.ป.พ.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2012). แนวคิดเศรษฐศาสตร์สถาบัน. วันที่ค้นข้อมูลเมื่อ 5 มี.ค. 2557. เข้าถึงข้อมูลได้จาก http://www.stou.ac.th/stouonline/lom/data/sec/Alternative/02-02-02.html.
รุ่งรัตน์ ชมาฤกษ์ . (2539). อำนาจต่อรองในระบบการเกษตรแบบมีพันธสัญญาของกลุ่มชาวนาในจังหวัดเชียงใหม่.
วิทยานิพันธศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาสังคมวิทยา. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สมภพ มานะรังสีรรค์ . (2534). รายงานการวิจัยเรื่องระบบการผลิตแบบมีสัญญาผู้กพัน : ทางออกของเกษตรกรไทย.
กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
โสภิณ ทองปาน. (2536). นโยบายเกษตรไทย. กรุงเทพฯ : เลิศชัยการพิมพ์2.
สาคร สำนักับ้านโคก. (2543). ผลกระทบของระบบการเกษตรแบบมีสัญญาผู้กพันต่อชุมชนและครอบครัวของเกษตรกร : กรณีศึกษาที่จังหวัดสกลนคร.วิทยานิพันธศลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาการพัฒนา.
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุดใจ จงวรกิจวัฒนา. (2555). เกษตรพันธสัญญาเพื่อบรรเทาความยากจน (กรณีศึกษา จังหวัดเชียงใหม่). วันที่ค้นข้อมูลเมื่อ
5 มี.ค. 2557. เข้าถึงข้อมูลได้จาก http://www.v-reform.org/u-knowledge%E0%B9%80%E0%.
วอลเดนเบลโล, เชียร์คันนิงแฮมและสีเค็งปอห์ . (2542). โศกนาฏกรรมสยาม : การพัฒนาและการแตกสลายของสังคมไทย
สมัยใหม่. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง.
อรรถวุฒิ ไสยเจริญ. (2537). โครงสร้างตลาด อตสาหกรรมไก่เนื้อในประเทศไทย. วิทยานิพันธวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต
สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ . มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
Setboonsarng, Sununtar, Pingsun Leung, & Adam Stefan. (2008). Rice contract farming inLao PDR :
Moving from subsistence to commercial agriculture. Asian Development Bank.
Setboonsarng, Sununtar, Pingsun Leung, &JunningCai. (2005). Contract farming and poverty reduction :
A case of organic rice contract farming in Thailand. Asian Development Bank.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Articles that are published are copyrighted by the authors of the articles