Modify the Final Consonant in Words Borrowed Khmer language in Thailand: Analysis by the Theory Optimality Theory Results.
Abstract
บทความนี้เป็นการนำเสนอข้อมูลการศึกษาทางภาษาศาสตร์ โดยศึกษาลักษณะการปรับเปลี่ยน
พยัญชนะท้ายของคำยืมจากภาษาเขมรที่นำมาใช้ในภาษาไทย โดยใช้ทฤษฎีอุตมผล (Optimality Theory) ซึ่ง
การวิเคราะห์ได้มีการกำหนดเงื่อนไขบังคับในการศึกษาไว้สองลักษณะประกอบด้วย เงื่อนไขบังคับแปลกเด่น
และเงื่อนไขบังคับตรง ซึ่งผลการศึกษาพบว่า ลักษณะการปรับเปลี่ยนพยัญชนะท้ายในคำยืมภาษาเขมรที่ใช้ใน
ภาษาไทย สามารถสรุปได้ว่า ในจำนวนหน่วยเสียงพยัญชนะท้ายทั้งหมดของคำยืมภาษาเขมร พบว่ามี
พยัญชนะท้ายจำนวน 10 เสียงได้มีการปรับเปลี่ยนเมื่อปรากฏอยู่ในบริบทคำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย
กล่าวคือการปรับเปลี่ยนดังกล่าวไม่ได้เกิดขึ้นกับเฉพาะพยัญชนะท้ายที่ไม่ปรากฏในภาษาไทยเท่านั้น แม้
พยัญชนะที่มีใช้ในไวยากรณ์ภาษาไทยที่ปรากฏอยู่ใตำแหน่งนึ่งท้ายพยางค์ก็ได้มีการปรับเปลี่ยน โดยผล
การศึกษาพบว่า พยัญชนะท้ายพยางค์คำยืมภาษาเขมรในภาษาไทยที่ไม่ปรับเปลี่ยนประกอบด้วยหน่วย
พยัญชนะ j, p, t, Ɂ, m, n และหน่วยพยัญชนะที่มีการปรับเปลี่ยนประกอบด้วย ɲ→ n, ŋ→ ŋ / n,
w→ w, l→ l / n, c→ t, k→ p /Ɂ, h→Ɂ / t / k / h / สูญเสียงคำยืมจากภาษาเขมรที่นำมาใช้ใน
ภาษาไทยโดยใช้ทฤษฎีอุตมผล (Optimality Theory) การปรับเปลี่ยนพยัญชนะท้ายของคำยืมจากภาษาเขมร
ที่นำมาใช้ในภาษาไทย โดยใช้ทฤษฎีอุตมผล (Optimality Theory) เป็นการศึกษาทางภาษาศาสตร์ ซึ่งการ
วิเคราะห์ได้มีการกำหนด เงื่อนไขบังคับในการศึกษาไว้สองลักษณะ
(1) เงื่อนไขบังคับแปลกเด่น *ɲ[, *S[, * h[,
* l[, VOICE-CODA, *VK, NOCODA และ
(2) เงื่อนไขบังคับตรง IDENT-IO: IDENT-IO(VOICE), IDENT-IO(PLACE),
IDENT-IO(FEATURE) ซึ่งผลการศึกษามีรายละเอียดดังต่อไปนี้
พยัญชนะเขมรในคำยืมที่ใช้ในภาษาไทย ที่สามารถปรากฏใตำแหน่งนึ่งพยัญชนะท้ายได้ มีจำนวน 14
หน่วย ประกอบด้วย p c t k m n ɲ ŋ w r j l h Ɂ ซึ่งแต่ละกลุ่มพบว่าเมื่อนำมาใช้ในบริบทคำยืม
ในภาษาไทยได้ปรากฏมีลักษณะการปรับเปลี่ยนดังน
References
สโตร์ .
กังวล คัชชิมา. (2548). คำยืมบาลีสันสกฤตในภาษาเขมร. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
กาญจนา นาคสกุล. (2502). คำสันนิษฐานในภาษาไทยที่มีมูลรากเป็นคำเขมร. วิทยานิพันธปริญญา
มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทองสืบ ศุภะมาร์ค. (2522). ภาษาเขมรในภาษาไทย และภาษาไทย-บาลี สันสกฤตในภาษาเขมร. กรุงเทพฯ
: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
บัญญัติ สำลี. (2553). คำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย : กรณีศึกษา มหาชาติคำหลวง, (วิทยานิพันธดุษฎี
บัณฑิต). พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร.
เปริมนท์ คาระวี. (2539). คำยืมภาษาเขมรในภาษาไทยถิ่นใต้. วิทยานิพันธปริญญาดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2541). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 . กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์
พับลิเคชั่นส์ .
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). ศัพท์ภาษาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.
อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ . (2546). ทฤษฎีไวยากรณ์ . พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ជ ំ ស នណង. (2003). ប រិគ ណសរ ន ុងភសបមែរទំចនើប. ភនំចេញ៖ រជ
បណឌ ិរសភ រព ុ ជ . (Sonnang, Chom. The Qualitative Adjective in Khmer.
Master’s Thesis. Phnom Penh: Royal Academy of Cambodia, 2003).
េ ទធសសនបណឌ ិរយ. (1967). ិ សន ម របមែរ ភគ១-២ ច េ រពមាទី៥.
ភនំចេញ៖ េ ទធសសនបណឌ ិរយ. (Buddhist Institute. (1967). Khmer Dictionary.
vol.1&2. 5th ed. Phnom Penh: Buddhist Institute).
មេំ ុរ៉ល់. (2006). ចិយា រណ៍ទមរង់និយរននភសបមែរ (ភគ ១). ភនំចេញ៖
រជបណឌ ិរសភ រព ុជ. (Moal, Prum. (2006). Khmer Structural Grammar (in
Khmer). Phnom Penh: Royal Academy of Cambodia.
Bennett, Jefferson Fraser. (1995). Metrical Foot Structure in Thai and Kayah Li: OptimalityTheoretic Studies in the Prosody of Two Southeast Asian Languages. Doctor’s
Thesis. University of Illinois at Urbana-Champaign. ix.
Bennett, Jefferson. F. (2005). Reanalyzing Thai Glottal Codas: Probability, perception, and
displaced contrast. SIL International. < http://www.sil.org/silewp/ 2005/silewp2005-
012.pdf > December 23, 2008.
Das, Anupanm. (2009). “The Distribution of Spiraled Stop and /h/ in Bangla: An Optimality
Theoretic Approach,” in The Linguistics Journal Vol. 4 Issue 2, p. 51-76.
Guo, Hugo Ling-yu. (1999). Madarin Loanword Phonology and Optimality Theory: Evidence
from Transliterated American State Names and Typhoon Names. Taipei: National
Chengchi University.
Haas, Mary R. (1964). Thai-English Student’s Dictionary. Stanford: Stanford University.
Henderson, Eugénie J. A. (1975). “Phonetic Description and Phonological Function: Some
Reflections upon Back Unrounded Vowels in Thai, Khmer and Vietnamese” in
SEALANG. p. 259-270.
Jacob, Judith M. (1968). Introduction to Cambodian. London: Oxford University Press.
Jacob, Judith M. (1993). Cambodian Linguistics, Literature and History. London: School of
Oriental and African Studies.
Joost Dekkers et.al. (2000). Optimality Theory: Phonology, Syntax, and Acquisition. Oxford
University Press.
Kager, René. (2005). Optimality Theory. 5th ed. Cambridge: Cambridge University Press.
Khanittanan, Wilaiwan. (2004). “Khmero-Thai: The Great Change in the History of the Thai
Language of the Chao Phraya Basin,” in Sealang. p.375-390.
Oostendorp, Marc van and others. (2011). The Blackwell Companion to Phonology:
Phonological Process Vol. III. Oxford: Wiley-blackwell.
Pou, Saveros and Jenner, Philip N. (1973). “Some Chinese Loanwords in Khmer,” in Journal
of Oriental Studies. Vol. XI. Hong Kong: Hong Kong University Press.
Pou, Saveros. (2003). “Old Khmer and Siamese,” in Selected Papers on Khmerology Phnom
Penh: Reyum Publishing, p. 259-260.
Rungruang, Apichai. (2008). English Loanwords in Thai and Optimality Theory. Doctor’s Thesis.
Indiana: Ball State University.
Varasarin, Uraisi. (1984). Les éléments khmers dans la formation de la langue siamoise.
Doctor’s Thesis. Paris: Societé de l’étude Linguistiques et Anthropologiques de
Frence.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Articles that are published are copyrighted by the authors of the articles