บทบาทของกองทุนคุ้มครองพันธุ์พืชกับชุมชนตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ.2542

Authors

  • วินัย สมประสงค์ Journal of Research for Social and Community Development, Rajabhat Maha Sarakham University
  • จารุวรรณ จาตเสิถียร Journal of Research for Social and Community Development, Rajabhat Maha Sarakham University
  • ชนกานต์ สมิตะสร Journal of Research for Social and Community Development, Rajabhat Maha Sarakham University
  • วรรณา ปัญจสมานวงศ์ Journal of Research for Social and Community Development, Rajabhat Maha Sarakham University
  • ชัยนาท ชุํมเงิน Journal of Research for Social and Community Development, Rajabhat Maha Sarakham University

Abstract

กองทุนคุ้มครองพันธุ์ พืช เป็นกองทุนที่จัดตั้งขึ้นตามมาตรา ๕๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยเจตนารมณ์ ของกฎหมายฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ หลักเพื่อส่งเสริมให้มีการปรับปรุงพันธุ พืชและพัฒนา พันธุ พืชให้มีพันธุ พืชใหม่เพิ่มเติมจากที่มีอยู่เดิม อันเป็นการส่งเสริมการพัฒนาทางด้านเกษตรกรรมโดยการส่งเสริม และสร้างแรงจูงใจด้วยการให้สิทธิและคุ้มครองพันธุ พืชตามกฎหมาย ตลอดจนเพื่อเป็นการอนุรักษ และพัฒนาการใช้ ประโยชน์ พันธุ พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่น พันธุ พืชพื้นเมืองทั่วไป และพันธุ พืชุปา เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแล บำรุงรักษา และใช้ประโยชน์ พันธุ พืชอย่างยั่งยืน โดยใช้เงินจากกองทุนคุ้มครองพันธุ พืช เพื่อช่วยเหลือและอุดหนุน กิจการใด ๆ ของชุมชนท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการอนุรักษ การวิจัยและการพัฒนาพันธุ พืชทั่วประเทศ และเพื่อเป็นเงิน ช่วยเหลืออุดหนุน้องค ๑กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ การวิจัยและการพัฒนาพันธุ พืชของ ชุมชนทุกภูมิภาคทั่วประเทศ การบริหารจัดการกองทุนคุ้มครองพันธุ พืชอยู่ภายใต้การดำเนินงานของคณะกรรมการคุ้มครองพันธุ พืช และอยู่ในความรู้รับผิดชอบในการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหารทั่วไป สำนักคุ้มครองพันธุ พืช กรมวิชาการเกษตร ชุมชนที่ได้รับการคุ้มครองสิทธิสำหรับพันธุ พืชสำหรับพันธุ พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่น จะต้องมีเฉพาะในชุมชน นั้นเทานั้น ชุมชนจะต้องมีคุณสมบัติดตามกฎหมายุค้มครองพันธุ พืช นอกจากคุณสมบัติของพืช ชุมชนนั้นต้องตั้ง ถิ่นฐานและสืบทอดวัฒนธรรมร่วมกันมาอย่างต่อเนื่อง และได้ขึ้นทะเบียนตามพระราชบัญญัตินี้ เมื่อได้จดทะเบียน คุ้มครองพันธุ พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่นของชุมชนใดแล้วให้ชุมชนนั้นมีสิทธิแต่ผู้เดี่ยวในการปรับปรุงพันธุ ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิจัย ผลิต ขาย ส่งออก นอกราชอาณาจักร หรือจำหนายด้วยประการใดซึ่งส่วนขยายพันธุ ของพันธุ พืช พื้นเมืองเฉพาะถิ่น

References

ราชบัณฑติยสถาน. (2524). พจนานุกรมสังคมวิทยา, กรุงเทพฯ : พิมพ์ลักษณ์.

วิชา ธิติประเสริฐ และ จิระศักดิ์ กรีติคณุากร. (2546). ระบบการคุ้มครองพันธุ์พืชในประเทศไทย. วิชาการเกษตร. 21 (2), 170-182.

สุรไกร สังฆสุบรรณ์ (2550). การคุ๎มครองพันธุ๑พืชตามกฎหมายคุ้มครองพันธุพืช. น. 9-16. ใน กลยุทธ์ทั่วโลก สำหรับการอนุรักษ์พืช: การติดตามความก้าวหน้าในการด าเนินงานด้านการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ พืชอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ : สำนกันโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม.

สำนักคุ๎มครองพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร. (2542). พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ. : ฟันนี่พับลิชชิ่ง.

สำนักนายกรัฐมนตรี. (2546). ระเบียบคณะกรรมการคุ๎มครองพันธุ์พืชวําด๎วยการบริหารกองทุนและควบคุมการใชจํายเงินกองทุน. ราชกิจจานุเบกษา. 120 (ตอนพิเศษ ๑๑๔ ง), 148-154.

Downloads

Published

2013-01-31

How to Cite

สมประสงค์ ว., จาตเสิถียร จ., สมิตะสร ช., ปัญจสมานวงศ์ ว., & ชุํมเงิน ช. (2013). บทบาทของกองทุนคุ้มครองพันธุ์พืชกับชุมชนตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ.2542. Journal for Developing the Social and Community, 1(1), 38–46. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rdirmu/article/view/211169

Issue

Section

Research Articles