The Creating of Survey Research Conceptual Framework on management

Authors

  • สญัญา เคณาภูมิ Journal of Research for Social and Community Development, Rajabhat Maha Sarakham University

Abstract

การวิจัยเป็นการะบวนการแสวงหาความรู้ที่มีความนำเชื่อถือซึ่งอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  โดยความรู้ที่ค้นพบจากการวิจัยจะถูกนำไปใช้ประโยชน์ ต่อตนเอง ชุมชน สังคม ประเทศชาติ และสังคมโลก ขั้นตอน สำคัญๆ ของการวิจัยได้แก่ การค้นหาความรู้ (การสำรวจ) การสร้างวิธีการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์  (การสร้าง ยุทธวิธีหรือสร้างนวัตกรรม) การนำวิธีการไปปฏิบัติ (การแก้ปัญหา หรือกี่ี่ารพัฒนา) และการประเมินยุทธวิธีนั้น (การประเมินผล) หากพิจารณาให้ถ่องแท้แล้วจะเห็นได้ว่ากระบวนการวิจัยโดยภาพรวมแล้วก็คล้าย ๆ กับ กระบวนการแก้ปัญหาหรือการพัฒนา กลำวคือเริ่มจาก
(๑) การสำรวจปัญหาถือวาเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research)
(๒) การสร้างหรือกี่ี่ารพัฒนาวิธีการแก้ปัญหา (Method of solving or development)
(๓) การนำ วิธีการไปสู่การปฏิบัติ (Implementation) และ
(๔) การประเมินผล (Evaluation) โดยภาพรวมเรียกได้ว่าการวิจัย และพัฒนา (Research and Development) อย่างไรก็ตามขั้นตอนที่สำคัญคือขั้นเริ่มต้น ดังที่ทราบกันดีวา หาก เริ่มผิด ที่ตามมาก็ผิดหมด ฉะนั้นขั้นตอนการสำรวจสภาวะหรือสภาพปัญหาที่เป็นอยู่จึงมีความสำคัญมากเนื่องจาก ขั้นตอนนี้เปรียบเสมือนขั้นของการวินิจฉัยโรคไข้เจ็บ ซึ่งหากวินิจฉัยผิด ก็จะไม่สามารถรักษาโรคภัยไข้เจ็บนั้นได้ กลำวคือเมื่อขั้นเริ่มต้นผิดพลาด ขั้นอื่น ๆ ที่ตามมาก็ย่อมผิดพลาดไปโดยปริยาย สรุปก็คือหากขั้นตอนการสำรวจ สภาพปัญหาหรือสภาพที่เป็นอยู่ไม่ได้ความจริงที่แท้จริง องค์ ความรู้ที่ได้จากการวิจัยนั้นก็เป็นองค์ ความรู้ที่ไม่ สมบูรณ์  ไม่สามารถที่จะนำไปสู่การแก้ปัญหาหรือพัฒนาได้ถูกต้อง ” การวิจัยเชิงสำรวจจึงเป็นขั้นตอนที่มี ความสำคัญมากที่สุดต่อกระบวนการวิจัยอื่น ๆ ที่ตามมา “ อย่างไรก็ตามหากพิจารณาลึกลงไปในกระบวนการวิจัย เชิงสำรวจ ประเด็นที่มีความสำคัญมากคือการคำนึงถึงเป้าหมาย หรือผลลัพธ์ จากกระบวนการวิจัย นั่นคือองค์ ความรู้ต้องดี มีความทันสมัย สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ได้เหมาะสม การสร้างองค์ ความรู้ใหม่ด้วยกระบวนการวิจัย

References

กรรณิการ1 ดวงจิรประเภทา. (2545). ยุทธวิธีช่วยคิด. กรุงเทพฯ : กลุ่มวิจัยและพัฒนาองค 1 กรแห่งการเรียนรู้สำนัก นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

เกษมสิงห 1 เฟื่องฟู. (2551). การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion). [Online] เข้าถึงจาก https://www.nb2.go.th/kmcdata/uploadq/120.ppt [26 สิงหาคม 2551]

คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำนักงาน. (2540). ระบบการประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา แห่งชาติ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์

1. จำนงค์ ทองประเสริฐ, ศ, ราชบัณฑิต สำนักศิลปกรรม. (2528). ภาษาไทยไขขาน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ แพร่ พิทยา.

เฉลียว บุรีภักดี. (2541). การคิดเชิงระบบ. เพชรบุรี : บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏเพชรบุรี.

ติน ปรัชญพฤทธิ์ . (2542). ทฤษฎีอีงค์การ. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.

ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2549). ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่. พิมพ์ 1 ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : รัตนไกร.

ทัศนา แขมมณี. (2545). วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.).

บุญดี บุญญากิจและคณะ. (2549). การจัดการความรู้ จากทฤษฎีสีกู่ารปฏิบัติ. พิมพ์ 1 ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ด ยูเคชั่น.

พรธิดาวเชิยีรปัญญา. (2547). การจัดการความรู้ : พื้นฐานและการประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอรเน็ท.

พรพรรณ ภูมภิู. (2551). การคิดเชิงระบบ Systems Thinking. [Online].

แหลงที่มา ;kmcenter.rid.go.th/kcffd/../Systems%20Thinking%201.doc [21 สิงหาคม 2551] พระพรหมคุณากรณ 1 (ประยุทธ ปยุตโต). (2551). วิธีคิดตามหลักพุทธรรม. กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย.

_________. (2549). สารานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตโต): Yonisomanasikàra (S.V.2-30; A.I.11-31; It.9.) กรุงเทพมหานคร : เคล็ดไทย.

ยุทธนา แซ่เตียว. (2548). การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ สร้างองค์กรอัจฉริยะ. พิมพ์ 1 ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : อินโนกราฟฟิกส .

รัตนะ บัวสนธ์. (2551). ปรัชญาวิจัย (Philosophy of Research). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ 1 แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2548). พจนานุกรมฉบับภาษาไทย. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนา.

วนิช สุธารัตน 1. (2547). ความคิดและความคิดสร้างสรรค์ . พิมพ์ ลักษณ์, กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

วานิชมาลัย และอรสา ปานขาว. (2548). วิธีการศึกษาทางนิเทศศาสตร์ . กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิจารณ์ 1 พานิช. (2548). การจัดการความรู้ฉบับนักปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : ตถาตา พับลิเคชั่น.

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2553). เทคนิคการสร้างและการผสมผสำนักรอบแนวคิดทางวิชาการ. (ปรับปรุงลำสุด วันที่ 5 กรกฎาคม 2553). [Online] เข้าถึงได้ จาก ;https://wiruch.com/articles%20for%20article/article%20technic%20of%20 framework%20writing.pdf [20 มกราคม 2556]

ศรัณย 1 ชูเกียรติ. (2541).” เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการองคค์วามรู้ “ ในองค์กรกลยุทธ์เพื่อความสำเร็จ ภายใต้สภาวะการณ์ปัจจุบัน. จุฬาลงกรณ 1 ธุรกิจปริทัศน 1. 20
(75) มีนาคม 2541 : 13-22

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2550). สถิติประยุกต์ สำหรับการวิจัย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ 1 แห่งจุฬาลงกรณม 1 หาวิทยาลัย.

_________, ทวีวัฒน 1 ปิตยานนท 1, ดิเรก ศรสีุโข. (2551). การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมสำหรับการวิจัย. พิมพ์ 1 ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ 1 แห่งจุฬาลงกรณ 1 มหาวิทยาลัย.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2541). การวิจัยธุรกิจ Business Research. กรุงเทพฯ : ดวงกมลสมัย.

สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา. (2550). การคิดเชิงระบบ. [Online] เข้าถึงจาก

:https://www.kamsondeedee.com/school/ index.php/chater-002/51-2008-12-13-4-22/09system-theory?format=pdf [20 ธันวาคม 2550]

สมพร พุฒตาล เบ็ทซ์. (2546). แนวทางการศึกษาค้นคว้าและเรียบเรียงรายงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

สัมพันธ ์ พันธุ์ พฤกษ์. (2556). มโนมติที่คลาดเคลื่อนทางในวิจัยทางการศึกษา (Misconnects in educational research). [Online] เข้าถึงได้จาก ; https://netra.lpru.ac.th/~phaitoon/Copy%20of%20111RES52/Miscontent.htm [21 28 มีนาคม 2556]

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. (2551). การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion). [Online] เข้าถึง จาก https://www.vijai.org/Tool_vijai/12/02.asp [26 สิงหาคม 2551]

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). ยุทธวิธีช่วยคิดคณิตศาสตร์ . กรุงเทพฯ : สำนักพัฒนา นวัตกรรมการจัดการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

สิริวรณุ (นามปากกา). (2548). อันตตากับชีวิตที่ทันสมัย. กรุงเทพฯ : ตถาตา พับลิเคชั่น.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ 1. (2546). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ . พิมพ์ 1 ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : เฟื่องูฟา พริ้นติ้ง.

_________. (2550). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ . กรุงเทพฯ : สามลดา.

อภิชัย พันธเสน. (2544). พุทธเศรษฐศาสตร์๎: วิวัฒนาการทฤษฎี และการประยุกต์กับเศรษฐศาสตร์สาขาต่าง ๆ. (พิมพ์ 1 ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ 1 อมรินทร 1,

Bertalanffy, L.V. (1968). General System Theory: Foundations, Development, Applications. New York: George Braziller.

Emory, S. Bogardus. (1926). The New Social Research. Los Angeles: Jesse Ray Miller.

Firestone, Joseph M. and McElroy, Mark W. (2003). Key Issues in the New Knowledge Management. Burlington: Executive Information System.

Freeman,J. B. (1988). Thinking Logically Basic Concepts for Reasoning. New Jersey: Prentice Hall.

Gagne, R. M. (1977). The Conditions of Learning and Theory of Instruction. New York: Holt Rinchert and Winstin.

Jayatilleke, K. N. (2532). The Buddhist Theory of Causality;จินดาจันทร 1 แก้ว แปล. พุทธวิภาษวิธี. กรุงเทพฯ : โครงการวิจัยพุทธวิทยา

Kerlinger, F.N., (2000). Foundations of Behavioral Research. 4th ed. U.S.A.: Thomson Learning. Neuman, W. Lawrence. (2003). Social Research Methods. Qualitative and Quantitative Approaches. Fifth Edition. Boston: Allyn and Bacon.

Schermerhorn, John R. Jr., James G. Hunt and Richard N. Osborn. (2000). Organization Behavior. 7th ed USA: John Wiley & Sons, Inc.,

Siegel, Harvey. (1988). Educating Reason: Rationality, Critical Thinking, and Education. London: Routledge.

Tiwana, Amrit. (2000). the knowledge management toolkit: practical techniques for building a knowledge management system. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

Walker, L.O. & Avant, K.C. (1995). Strategies for Theory Construction in Nursing. Norwalk, Connecticut: Appleton & Lange

Wiersma, W. (2000). Research methods in education: An introduction. Needham Heights, MA: A. Pearson.

Williams & Wilkons. Meleis, A.I. (2007). Theoretical nursing: Development and Progress. 4th ed. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkons.

Downloads

Published

2013-01-31

How to Cite

เคณาภูมิ ส. (2013). The Creating of Survey Research Conceptual Framework on management. Journal for Developing the Social and Community, 1(1), 19–31. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rdirmu/article/view/211165

Issue

Section

Research Articles