Research and Development : Method for Research Developing
Abstract
การวิจัยมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อความเจริญก้าวหน้าทำงวิทยาการในทุก ๆ ด้าน โดยทั่วไปการวิจัยจะมุ่งที่จะพัฒนาองค 1 ความรู้หรือประยุกต์ 1 ใช้ความรู้ เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาสิ่งใหม่ ซึ่งโดยส่วนมากเมื่อ ทำวิจัยไปแล้วผู้วิจัยก็หยุดอยู่เพียงเทานั้นทำให้ศาสตร์ 1 ทางด้านนั้น ๆ ไม่เจริญก้าวหน้าเทาที่ควร การวิจัยและพัฒนา จึงเกิดขึ้นตามความต้องการที่แท้จริงและสร้างสรรค์ 1 สิ่งใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ 1 ที่ไม่มีที่สิ้นสุดและเกิดความก้าวล้ำทางด้านเทคโนโลยีที่สร้างสรรค์ 1 สิ่งใหม่ ๆ อันเป็นประโยชน์ 1 ในทางวิชาการและวิธี วิทยาทางการวิจัยที่จะดำเนินต่อไป การวิจัยและพัฒนาเป็นการวิจัยแบบหนึ่งที่ใช้กระบวนการวิจัย (Research Process : R) และกระบวนการพัฒนา (Development Process : D) ในการพัฒนางาน หรือผลิตนวัตกรรม เป็นวงจรต่อเนื่อง จนกระทั่งได้ผลงาน หรือนวัตกรรมที่มีคุณภาพตามต้องการโดยอาจเริ่มต้นวงจรจากกระบวนการวิจัย R1์ D1์ R2์ D2 หรือกี่ระบวนการพัฒนา D1์ R1์ D2์ R2 ก็ได้ (ราชบัณฑิตยสถาน. 2555:458) ซึ่ง เป็นระบบที่นำไปใช้ปรับปรุงห้รือกระทำสิ่งใหม่หรือเป็นเทคนิคในการผลิตให้มีความก้าวหน้า (Th.Balamans. 1979) เป็นการประยุกต์ 1 ใช้การวิจัยเพื่อค้นหาแนวทางแก้ปัญหาจากปัญหาที่เกิดขึ้นโดยมีจุดเน้นที่การพัฒนา การทดสอบและการประยุกต์ 1 ใช้ทฤษฎีรวมถึงแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดจากการวิจัยพื้นฐานโดยเส้นทางของการวิจัยมาจาก ทฤษฎีและมโนทัศน์ 1 จากระเบียบวิธีในทางวิชาการแต่อยู่ภายใต้หลักจิตวิทยาและประสบการณ์ 1 ที่มีลักษณะเฉพาะ ของหน่วยตัวอย่างที่ต้องการศึกษานั้นอาจมีสาเหตุมาจากศาสตร์ 1 ทางการเมืองเศรษฐศาสตร์ 1 และกฎหมาย ซึ่งมี น้ำหนักที่มากกว่าหลักฐานเชิงประจักษ์ 1 บางครั้งการวิจัยนี้อาจจะเป็นการผลิตการแจกแจงและการประยุกต์ 1 ใช้ ความรู้ในการปรับปรุงระบบ การฝึกประสบการณ์ 1 ซึ่งเกี่ยวข้องกับการทดสอบ การจัดการและกระบวนการของ ความรู้รู้วมถึงการประเมินด้วย ดังนั้นการวิจัยและพัฒนาจึงเป็นกระบวนการสืบเสาะหาความรู้อย่างเป็นระบบ เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าในด้านใดด้านหนึ่งซึ่งมีจุดมุ่งหมายในการแก้ปัญหาหรือพัฒนานวัตกรรมหรือผลิตภัณฑ์ 1 โดย ใช้กระบวนการและเทคนิควิธีการเพื่อให้มีคุณภาพ (quality) และประสิทธิภาพ (effectiveness) สามารถนำไปใช้ ประโยชน์ 1 ได้อย่างคุ้มคำตอบสนองความต้องการของผู้วิจัยและผู้ใช้ผลการวิจัยได้อย่างเป็นอย่างดี
References
ราชบัณฑิตยสถาน. (2555). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ . กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์
1. รัตนะ บัวสนธ 1. (2551). การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษา. พิษณุโลก : บั้วกราฟฟิก.
______________. (2550). ทิศทางและอาณาบริเวณการประเมิน. นครสวรรค 1 : ริมปิงการพิมพ์
1. Darius Mahdjoubi. (2009). Stavangar, Norway.
Th.Balamans. (1979). Strategic Planning for Research and Development. Long Range Planning Vol. 12.
Examiner's report on Denmark. (2004). National review on educational R&D.EDU/ CERI/CD(2004)10
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Articles that are published are copyrighted by the authors of the articles