ตำรวจกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นฐาน

ผู้แต่ง

  • Lt. Col. Dr.Narong Phuyiamchit อาจารย์พิเศษ วิทยาลัยชุมชนยโสธร

คำสำคัญ:

คุณภาพชีวิต, ตำรวจ, เศรษฐกิจพอเพียง

บทคัดย่อ

หลักเศรษฐกิจพอเพียง มีความสำคัญทั้งตอบุคคลและสังคม เพราะการดำเนินชีวิตประจำวัน จำเป็นต้องมีความพอประมาณ ความมีเหตุผล และมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ซึ่งหลักการนี้เป็นการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันทำให้สามารถพึ่งตนเองได้ เมื่อพึ่งตนเองได้แล้ว ชุมชนและสังคมจะมีความมั่นคงมีการพัฒนาทียั่งยืน พร้อมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นได้ทุกขณะ จะเห็นได้ว่า เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรื่องใกล้ตัวที่สามารถนำมาปฏิบัติได้ และส่งผลให้เห็นประโยชน์ในการปฏิบัติ อย่างต่อเนื่องจริงจัง การนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นฐานมาใช้ในชีวิตประจำวัน จึงเป็นการกล่าวถึง ทฤษฎีความจำเป็นพื้นฐาน และความทันสมัย เพราะตั้งอยู่บนพื้นฐานหลักความพอเพียง ดังนั้น การที่ตำรวจนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นฐานในการพัฒนาคุณภาพชีวัตตามวิถีการดำเนินชีวิตประจำวัน จึงเป็นการพัฒนาและส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้เป็นต้นแบบ ในสภาวะเศรษฐกิจและสภาพแวดล้อมปัจจุบัน สามารถนำมาใช้ในการพัฒนาศักยภาพความเป็นอยู่ของตำรวจ โดยใช้หลัก เศรษฐกิจพอเพียงเป็นฐาน สร้างความรู้ความเข้าใจต่อการดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง รู้จักความพอเพียง การวางแผนชีวิตการวิเคราะห์ และใช้วิจารณ์ญาณแก้ปัญหา โดยใช้เหตุผลเป็นที่ตั้ง รู้จักขยัน ซื่อสัตย์ อดทน ประหยัด และไม่ฟุมเฟือย นอกจากนี้ไม่ว่าจะทำสิ่งใด ต้องหมั่นหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อเพิ่มทักษะ ให้ตัวเอง ควรนำหลักคำสอนของพระพุทธศาสนำมาปฏิบัติดตามอย่างเคร่งครัด เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของตำรวจสืบไป

References

Krissana Phanmawanit (2007). “People with moral responsibility in His Majesty King Bhumibol Adulyadej”, Matichon Newspaper, (29 January 2007).

Kularb Rattanasadjatham and others. (1992). The Development of an Appropriate Model in Planning for Quality of Life according to Criteria Needed at Village Level. Bangkok : : Bannakit Printing.

Nisarat Sillapadech (1997). Population and Development of Quality of Life. Bangkok : : Thonburi Rajabhat Institute

Phrathampidok (Payud Payudto). (2007). New Age Medicine in Buddhism. 5th ed. Bangkok : Sahathammikka

Phuen Prakoon (2000). Factors Affecting Life Quality of Non-Commissioned Police Officers under Khon Kaen Provincial Police. Master. Education (Educational Administration), Khon Kaen University. Khon Kaen (Thailand)

Royal Academy (1982). Dictionary of Royal Academy. Bangkok : :Royal Academy, 2525.

Suchart Prasithratthasin (1982). Environmental Management. Bangkok : Office of the National Environment Board.

Sumeth Tuntiwechakul. (2005). Principles of Buddhism : Principles based on Concept of Kings. 15th ed. Bangkok : Darnsutha Printing.

Suwat Mahudnirun and Others. (1997). Compare the Quality of life Measurement of World Health Organization, Series of 100 indicators and 26 indicators. Bangkok : Ministry of Public Health.

Thammanoon Withee. (2004). Factors related to quality of life of Soldier at 12th infantry Battalion, regiment the king's own Bodyguard. Master of Public Administration Thesis : Burapa university,

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-31

How to Cite

Phuyiamchit, L. C. D. (2018). ตำรวจกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นฐาน. Journal for Developing the Social and Community, 5(1), 291–300. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rdirmu/article/view/210809