แนวการเขียนบทความทางวิชาการ

Authors

  • รศ.ดร.อุทัย บุญประเสริฐ รองศาสตราจารย์ดร. ผู้อํานวยการหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย

Abstract

 บทความทางวิชาการหรือ Article นั้นมีลักษณะพื้นฐานและธรรมชาติเป็นการเสนอผลงานทางวิชาการสำหรับ
นักวิชาการหรืออาจารย์สำหรับผู้ที่ต้องการนำเสนอผลงานวิจัย เสนอข้อความรู้เฉพาะเรื่อง เสนอข้อคิดความเห็นที่เป็นหลัก
วิชา เสนอวิธีการศึกษาวิเคราะห์ในแนวใหม่ เสนอรายงานผลการศึกษาค้นคว้าเฉพาะเรื่อง ด้วยเนื้อความในลักษณะที่เป็น
บทความที่สั้นและกะทัดรัด แต่มีความเป็นวิชาการมีความมุ่งหมายและมีคุณค่าทางวิชาการอยู่ในตัวเองชัดเจน และในบาง
กรณีจะมีลักษณะเป็นคล้ายกับสนามทดลองเสนอผลงานสู่วงวิชาการ

References

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (ม.ป.ป.). ลักษณะของผลงานทางวิชาการที่ใช้ประกอบการพิจารณาแต่งตั้งตำแหน่งทาง วิชาการตามมติของ ก.ม. (เอกสารอัดสำเนา).ม.ป.ท.
บัณฑิตวิทยาลัย,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2536). คู่มือการพิมพ์วิทยานิพันธ . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2539). เทคนิคการเขียนและผลิตตำรา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทัศนา แขมมณี. (ม.ป.ป.). การเขียนบทความทางวิชาการ. (เอกสารอัดสำเนา)ม.ป.ท.

อุทัย บุญประเสริฐ. (2531). เอกสารประกอบการบรรยายเรื่องการผลิตผลงานทางวิชาการสำหรับอาจารย์ .

การประชุมประจำปีของคณะมนุษย์ศาสตร์มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย วันที่ 29 ตุลาคม 2531 เวลา 13.30 -
16.30 น. ณ ห้อง ประชุมโรงแรม โกลเดน บีช พัทยาจังหวัด ชลบุรี.(2541).

เอกสารประกอบการบรรยายเรื่องหลักการและแนวคิดเกี่ยวกับจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ.

การฝึกอบรมโครงการฝึกอบรมหลักสูตร การวิเคราะห์นโยบายและแผน ของงานฝึกอบรมกองการเจ้าหน้าที่่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในหัวข้อวิชา บทบาท หน้าที่ี่จรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านวิเคราะห์นโยบายและ
แผน วันที่ 20 กรกฎาคม 2541 เวลา 9.00 - 12.00 น. ณ อาคาร จามจุรี 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Downloads

Published

2015-01-31

How to Cite

บุญประเสริฐ ร. (2015). แนวการเขียนบทความทางวิชาการ. Journal of Research and Development Institute Rajabhat Maha Sarakham University, 2(1), 2–3. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rdirmu/article/view/210701

Issue

Section

Research Articles