การเรียนรู้ของผู้เรียนผ่านการเรียนรู้แบบโครงงานวิชาเทคนิคการจับภาพเคลื่อนไหว

ผู้แต่ง

  • Asst. Prof. Suwichai Phunsa คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คำสำคัญ:

การเรียนรู้แบบโครงงาน, กระบวนการสอน, เทคนิคการจับภาพเคลื่อนไหว

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลการเรียนรู้ของผู้เรียนผ่านการเรียนรู้แบบโครงงานวิชา
เทคนิคการจับภาพเคลื่อนไหว และเพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียน จ านวน 34 คน วิธีการเลือกกลุ่ม
ตัวอย่างแบบเจาะจง โดยได้น าแนวทางการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนรู้ของผู้เรียนผ่านการเรียนรู้แบบโครงงานการจัดการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบ
ประเมินผลการเรียน แบบประเมินความพึงพอใจและความคิดเห็นผู้เรียนผ่านออนไลน์ สถิติที่ใช้ ได้แก่
ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม
ผลการวิจัย พบว่า
ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนผ่านเกณฑ์ 4 ทีมและอยู่ในเกณฑ์พอใช้ 2 ทีม ผลประเมินความพึงพอใจ
ในแต่ละด้านๆ ได้แก่ ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านเนื้อหาการเรียนรู้ ด้านการน าเสนอ และด้านสื่อ
การเรียนรู้ มีความพึงพอใจภาพรวมในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ (  = 3.78, S.D. =0.38) ด้าน
ประเมินความคิดเห็นออนไลน์ มีค่าเท่ากับ (  = 3.93, S.D. =0.84) แปลผลอยู่ในระดับมาก และ
สุดท้ายวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นและการยอมรับที่มีเพศต่างกัน พบว่าระดับความคิดเห็น
ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

References

Bell, S., (2010). Project-Based Learning for the 21st Century : Skills for the Future. The Clearing House. 39-43.

Carman, Jared M., (2005). Blended Learning Design: Five Key Ingredients. Director,Product Development Knowledge.

Policy Innovation Center, King Mongkut's University of Technology Thonburi. (2017). The teaching and learning Management in line of Project-Based Learning for theSchool of Technology base Science. Bangkok : The Secretariat of the Council of Education, Ministry of Education.

Suchin Phetcharak. (2001). The Process of Learning Management for Creating the Creative
Intelligence in Thailand. Research report presented to the National Education Commission. Bangkok: Kurusapa Business Organization

Suppachai Klongkhayan. (2017). “The Literary Consistency: Hypothesis
Research”Journal of Research and Development Institute, Rajabhat MahaSarakham University, 4 (1) : January–June 2017 p. 113-134

Thomas, J. W., (2000). A Review of Research on Project-based Learning, From https://www.bobpearlman.org/BestPractices/PBL_Research.pdf

Tisana Khammani. (2002). Teaching Science : Knowledge for Effective Learning Process.Bangkok : Chulalongkorn University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-31

How to Cite

Phunsa, A. P. S. (2018). การเรียนรู้ของผู้เรียนผ่านการเรียนรู้แบบโครงงานวิชาเทคนิคการจับภาพเคลื่อนไหว. Journal for Developing the Social and Community, 5(1), 21–30. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rdirmu/article/view/210471