การพัฒนาทักษะการทอผ้าด้วยกี่เอวเพื่อOTOP
คำสำคัญ:
พัฒนาทักษะ, การทอผ้า, กี่เอวบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภูมิปัญญาการทอผ้าด้วยกี่เอว พัฒนาทักษะการทอและบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมี (PAR) การสนทนากลุ่มย่อยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ทได้แก่กลุ่มทอผ้าบ้านโนนแสบงาวิจักลุ่มทอผ้าบ้านนาสีนวนและอื่น ๆ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การพรรณนาอธิบายปรากฏการณ์ ผลการวิจ พบว่า มีการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย อดีตเคยผลิตเส้นไหมเส้นูฝายใช้เอง ปัจจุบันเลือกใช้เส้นฝูเส้นไหมโรงงานแทน แต่กระบวนการทอยังเหมือนเดิมมีลวดลายผ้ามากขึ้น แต่ขาดความโดดเด่นเป็นอัต ลักษณ์ในการสร้างคุณค่าเพิ่มมูลค่าเพื่อดึงดูดลูกค้า การนำภูมิปัญญาการทอผ้าด้วยกี่เอวมา จุดเด่นที่เหมาะสมมาใช้ในการทอผ้าพื้นบ้านอีสาน เช่นลายนาค ลายขอลายกระจอน หรืออื่น ๆ นอกจากนั้นยังมีการออกแบบและทอด้วยกี่เอวหรือีกี่ที่พัฒนาให้มีขนาดกะทัดรัดสามารถพกพาไปได้ทุก ที่ประกอบกับการพัฒนาทักษะการทอผ้าออกแบบลายผ้าเพื่อบริการผู้สนใจเรียนรู้ได้ง่ายสาม นำไปใช้ทอได้ทุกที่สะดวกสบายกว่ากี่ที่เคยใช้ในหมู่บ้านทั่วไป
References
Buntham Kitpreedaborisuth. (2010). Techniques for creating data collection tools for research. 7th ed. Bangkok : Sri Anan Printing.
Kowid Phuang-ngarm. (2002). The strengthening of the community. Bangkok : no place. Nirud Tothom. (2010). Handicraft Weaving (Karens) Embroidery (Hmong) for the 2nd
Grade Students, Ban Mealanluang School, Ban Diochang, Academic year 2008, Piengyang, Aomkoiy District, Chiangmai Province. Research Report : Office of Chiang Mai Educational Service Area 5
Sanit Bunchoo. (1984). Community Development : Public Participation Bangkok :
Thammasat University Press.
Sirilak Teeranathanakul. (2011). Research : Body of Knowledge and Process. Bangkok :
Bangkok Media Center.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์เป็นของผู้ประพันธ์บทความ