ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม

ผู้แต่ง

  • Dr. Witchayaphan Chaiyasombat นักวิชาการอิสระ โรงพยาบาลประจำอำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม

คำสำคัญ:

การกำจัดขยะ, เศรษฐกิจพอเพียง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนอำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม และศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนารูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ที่มีบทบาทมากที่สุดของครัวเรือนในการจัดการจัดการขยะมูลฝอย จำนวน 392 ครัวเรือน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้าง ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปและการวิเคราะห์เชิงพรรณนา สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า

  1. ปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนอำเภอเชียงยืนจังหวัดมหาสารคาม พบว่า (1) ปัญหาความขัดแย้งผลกระทบต่อประชาชนในพื้นที่รอบศูนย์กำจัดขยะ (2) บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ และการบังคับใช้ข้อบัญญัติที่เกี่ยวข้องในการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม (3) ขาดการติดตาม ประเมินผลจากส่วนกลางหลังจากมีการถ่ายโอนอำนาจให้องค์กรปกครองท้องถิ่น (4) รายรับการจัดเก็บค่าธรรมเนียมของท้องถิ่นไม่เพียงพอกับรายจ่ายค่าธรรมเนียมในการส่งขยะมูลฝอยกำจัดที่ศูนย์กำจัดขยะ (5) การกำหนดนโยบายของท้องถิ่นเปลี่ยนแปลงตามวาระของผู้บริหารท้องถิ่น
  2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนารูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม ได้แก่ (1) ปัจจัยด้านความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (2) ปัจจัยด้านการมีส่วนร่วม (3) ปัจจัยด้านการสนับสนุนจากภาครัฐ (4) ปัจจัยด้านการสนับสนุนจากภาพเอกชน และ (5) ปัจจัยด้านการสนับสนุนจากผู้นำชุมชน

 

References

กรมควบคมมลพิษ. (2556). สรุปสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย พ.ศ.2556. กรุงเทพฯ : กรมควบคุมมลพิษ,

กรมควบคุมมลพิษ. (2544). เกณฑ์มาตรฐาน และแนวทางการจัดการขยะชุมชน. (พิมพ์ครั้งที่ 5) กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม,

กรมควบคุมมลพิษ. (2552). ข้อเสนอแนวทางการสนับสนุนงบประมาณให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้านการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน. กรุงเทพมหานคร,

เกรียงไกร กระจ่างยุทธ. (2555). ความร่วมมือของภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อการบริหารเครือข่ายวิสาหกิจภาคการเกษตรของไทย. วิทยานิพนธ์นิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (รัฐระศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง,

คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง. (2548). ประมวลคำในพระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชตั้งแต่พุทธศักราช 2453–2546 ที่เกี่ยวข้องกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ : ส่วนเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ,

คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี โดย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ วันศุกร์ที่ 12 กันยายน 2557

จุฑาทิพ คล้ายทับทิม. (2553). การเมืองเรื่องสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,

ธิดารัตน์ ศรีขาว. (2557). รูปแบบการพัฒนาการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของประชาชนชนบท จังหวัดกาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. สาขายุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม,

ภัทร์ พลอยแหวน. (2553). การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในภาคธุรกิจเอกชน การวิเคราะห์เชิงพหุศึกษา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาพัฒนศึกษา ภาควิชานโยบายการจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,

วิรัช พิภาวรรณ. (2530). ปัญหาอุปสรรคที่สำคัญของการพัฒนาชุมชน : ประชาชน ข้าราชการและผู้นำรัฐบาล. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์,

สรุปผลการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนและผู้มีส่วนร่วมในการวิจัย, (มกราคม –กุมภาพันธ์ 2559)

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่11 (2555-2559). กรุงเทพฯ : สํานักนายกรัฐมนตรี

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2549). แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (2550 - 2554). กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (2555 - 2559). กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

สำนักงานจังหวัดมหาสารคาม. (2558). แผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2558 -2562. มหาสารคาม : สำนักงานจังหวัดมหาสารคาม.

สำนักงานจังหวัดมหาสารคาม. (2558). เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและผู้ปฏิบัติงานด้านจัดการขยะ (เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานตามวาระจังหวัดมหาสารคาม วาระที่ 3 วันที่ 9 มิถุนายน 2558),

สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา. (2557). คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี. [Online] https://www.most.go.th/main/index.php/about-us/policy-most/2558/3947.html [26 พฤษภาคม 2558]

สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอเชียงยืน. (2558). สรุปข้อมูลแบบรายงานการจัดการขยะมูลฝอย, สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอเชียงยืน.

สุเมธ ตันติเวชกุล. (2542). การดำเนินชีวิตในระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงตามแนวพระราชดาริ. การประปาส่วนภูมิภาค. 20 (1) : 5-8 ; มกราคม-กุมภาพันธ์, 2542.

เสาวลักษณ์ นิกรพิทยา. (2550). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม

หล้า ชุมพร. (2549). ขยะ. กรุงเทพฯ : นิตยสารพอเพียง ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 เดือนกันยายน,

อิราวัฒน์ ชมระกา,ปิยวรรณ ปาลาศ และคณะ. (2551). รูปแบบการจัดการเครือข่ายการตลาดผลิตภัณฑ์ ชุมชน จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยความร่วมมือของมหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรดิตถ์และองค์กรท้องถิ่น. มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรดิตถ์,

Beede N.D. and Bloom E.D. (1995). Economics of the Generation and Management of Municipal Solid Waste. Massachusetts : National Bureau of Economic Research,

Bennis, W. G. and Burt Nanus. (1985). Leaders : The Strategies for Taking Change. New York : Harper and Row,

Cohen, J.M. and N.T. Uphoff. (1977). Rural Development Participation : concept and Measures for Project Design Implementation and Evaluation. Rural Development Committee Center for international Studies, Cornell University,

Daft, R.L. (2008). The leadership experience. 4th ed.. Mason, OH : Thomson South-Western, 2008.

Sullivan, E. J. and P. J. Decker. (2005). Effective Leadership and Management in Nursing. 6th ed. Upper Saddle River, NJ : Prentice-Hall,

US.EPA. (1989). “Human Health Evaluation Manual Part A Baseline Risk Assessment”, in Risk. Assessment Guidance for Superfund. Volume 1. Resha, K. ed. USA.

Yamane, Taro. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. Third edition. New York : Harper and. Row Publication.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-12-31

How to Cite

Chaiyasombat, D. W. (2017). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม. Journal for Developing the Social and Community, 4(2), 109–125. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rdirmu/article/view/209743