การวิเคราะห์การเชื่อมโยงที่ขาดหายไปของโครงข่ายถนน เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา

ผู้แต่ง

  • ณัฐชยา ปันชุม คณะโลจิสติกส์และดิจิทัลซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • เจษฎา โพธิ์จันทร์ คณะโลจิสติกส์และดิจิทัลซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยนเรศวร

คำสำคัญ:

แบบจำลองขนส่งแบบต่อเนื่อง 4 ขั้นตอน, การเชื่อมโยงที่ขาดหาย, การท่องเที่ยว

บทคัดย่อ

การศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์การเชื่อมโยงที่ขาดหายไปของโครงข่ายถนนเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมามีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การเชื่อมโยงที่ขาดหายไปของโครงข่ายถนน เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวในพื้นที่ ขั้นตอนการดำเนินงานวิจัย ประกอบไปด้วย การทบทวน และเก็บรวบรวมข้อมูลด้านการท่องเที่ยว ข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลขนส่งและจราจรในพื้นที่ศึกษา เพื่อนำมาเป็นฐานข้อมูลในการพัฒนาแบบจำลองขนส่งแบบต่อเนื่อง 4 ขั้นตอน หลังจากนั้นได้มีการประยุกต์ใช้แบบจำลองเพื่อวิเคราะห์การเชื่อมโยงที่ขาดหายไป ประกอบไปด้วย 9 เส้นทาง

ผลการวิเคราะห์ พบว่า ในปี พ.ศ. 2570 และ พ.ศ. 2585 (5 และ 20 ปีข้างหน้า) กรณีมีเส้นทาง การเดินทางบนโครงข่าย มีระยะทางรวมในการเดินทางของระบบ (VKT) ลดลง คิดเป็นร้อยละ 0.57 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ ส่วนระยะเวลารวมในการเดินทางระบบ (VHT) ลดลง คิดเป็นร้อยละ 7.68 และร้อยละ 13.10 ตามลำดับ และมีความเร็วเฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.08 และร้อยละ 14.06 ตามลำดับ ซึ่งลดลงกว่ากรณีไม่มีเส้นทาง โดยผลของจัดลำดับความสำคัญเส้นทางทั้ง 9 เส้นทางที่เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวที่ขาดหายไปผ่านการประยุกต์ใช้กระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น (AHP) พบว่า เส้นทางที่มีความสำคัญในการพัฒนามากที่สุด ได้แก่ เส้นทางที่ 3 ทางหลวงหมายเลข 2090 เส้นทางที่ 2 โครงการทางลอดแยกนครราชสีมา และเส้นทางที่ 7 ทางหลวงชนบท นม.3060 ตามลำดับ

References

กรมทางหลวง. (2550). โครงการก่อสร้างทางหลวงแนวใหม่สายเชียงใหม่-ลำพูน. กรมทางหลวง.

กรมทางหลวง. (2564). แผนแม่บทการพัฒนาโครงข่ายทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง. สืบค้นจาก http://www.doh-motorway.com/master-plan/highway-network/

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2564). แหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา. สืบค้นจากhttps://thailandtourismdirectory.go.th/th/attractions?page=1&province_id=30

กิติพงษ์ ประพันธ์อนุรักษ์ และวชรภูมิ เบญจโอฬาร. (2558). การคัดแยกทางหลวงชนบท โดยใช้กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์. วิศวกรรมสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร, 10(2), 17-28.

คณะกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยวประจำเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมอีสานใต้. (2558). แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมอีสานใต้ พ.ศ. 2559-2563. ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 132 ตอนพิเศษ 213 ง. 43.

ปวีณา ทวีวงศ์โอฬาร. (2552). ความพึงพอใจของนักทองเที่ยวชาวไทยในการท่องเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. (ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ). สืบค้นจาก http://tourismlibrary.tat.or.th/medias/BU0033/BU0033_fulltext.pdf

ไพฑูรย์ พงศะบุตร และวิลาสวงศ์ พงศะบุตร. (2542). คู่มืออบรมมัคคุเทศก์. กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์และโครงการศึกษาต่อเนื่องจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สอง สุวรรณแผ่นผา. (ม.ป.ป.). ปัญหาและความต้องการของนักท่องเที่ยวต่างชาติในประเทศไทย.

(การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง). สืบค้นจากhttps://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/ml10/6114962050.pdf

สำนักงบประมาณของรัฐสภา. (2562). แนวทางการพัฒนาระบบคมนาคมของประเทศ. เล่มที่ 8/2562. สืบค้นจาก https://dl.parliament.go.th/backoffice/viewer2300/web/previewer.php.

สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. (2564). ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งของไทยระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580). สืบค้นจาก https://web.dlt.go.th/dlt-direction/media/attachments/2565/07/08/.-20-_-..62.pdf

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ประเด็นที่ 5 การท่องเที่ยว. สืบค้นจาก http://nscr.nesdb.go.th/wpcontent/uploads/2021/01/06_NS_05.pdf

Bian, F., & Yeh, A. G. O. (2020). Spatial–economic impact of missing national highway links on China’s regional economy. Transportation Research Part D: Transport and Journal of Operational Research, 84(1), 102377.

County of Simcoe Administration Centre. (2016). 400-404 Connecting Link. Retrieved from https://www.simcoe.ca/TransportationEngineering/Pages/connecting-link.aspx

Florida Department of Transportation Systems Planning Office. (2008). FSUTMS-Cube Framework Phase II: Model Calibration and Validation Standards. Retrieved from https://www.fsutmsonline.net/images/uploads/reports/FR2_FDOT_Model_CalVal_Standards_Final_Report_10.2.08.pdf

Highways England. (2019). Highways England Annual report and accounts 2018-19. Retrieved from https://assets.publishing.service.gov.uk/government/uploads/system/uploads/attachment_data/file/818636/GFD18_0281_HE_Annual_Report_15.7.19_FINAL.pdf

Huang, H. (2018). Research of the tourism industry development strategy in Bangkok of Thailand. (Master’s Thesis, Bangkok, Siam University).

Krungthai COMPASS. (2022). Research Note. สืบค้นจาก https://krungthai.com/Download/economyresources/EconomyResourcesDownload_579Research_Note_20_07_63.pdf

Litman, T. (2021). Understanding Transport Demands and Elasticities - How Prices and Other Factors Affect Travel Behavior. Victoria Transport Policy Institute. Canada. Retrieved from https://policycommons.net/artifacts/1543673/understanding-transport-demands-and-elasticities/2233482/

McFadden, D. (2001). Economic Choices. American Economic Review, 91(3), 351-378.

Ortúzar, J. D., & Willumsen, L. G. (1990). Modelling transport. Chichester: John Wiley & Sons Ltd.

Saaty T. L. (1990). How to make a decision: The analytic hierarchy process. European Journal of Operational Research, 48(1), 9-26.

Steinhoff, M., & Harpring, J. (2008). Transportation and Sustainability on the Indiana University. Bloomington: Bloomington Campus, Indiana University.

Vargas, L. G. (1990). An overview of the Analytic Hierarchy Process and its applications. European Journal of Operational Research, 48(1), 2-8.

World Travel and Tourism Council. (2019). TRAVEL & TOURISM GLOBAL ECONOMIC IMPACT & TRENDS 2019. Retrieved from https://ambassade-ethiopie.fr/onewebmedia/Tourism-WTTC-Global-Economic-Impact-Trends-2019.pdf

Yagi, S., & Mohammadian, A. K. (2010). An Activity-Based Microsimulation Model of Travel Demand in the Jakarta Metropolitan Area. Journal of Choice Modelling, 3(1), 32-57.

Zheng, S. (2018). Evaluating the Impact of Travel Motivations, Sensation Seeking, Destination Perceived Risk on Consumer Choice. (Master of Science, United States, Kent State University).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-31