การจัดการประสิทธิภาพการขนส่งทางราง: กรณีศึกษาเส้นทางกรุงเทพฯ – เชียงใหม่
คำสำคัญ:
ประสิทธิภาพ, การขนส่งทางราง, กรุงเทพฯ-เชียงใหม่บทคัดย่อ
การท่องเที่ยวนับเป็นอุตสาหกรรมที่มีบทบาทอย่างมากต่อเศรษฐกิจของประเทศ สามารถเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง โดยศักยภาพของตลาดการท่องเที่ยวภายในประเทศไทยประสบความสำเร็จเป็นอย่างดีในระดับโลกและได้รับรางวัลด้านการท่องเที่ยวระดับนานาชาติหลายรางวัล อีกทั้งยังมีภาพลักษณ์ที่ดีในสายตานักท่องเที่ยวต่างชาติ จังหวัดเชียงใหม่ถือได้เป็นเมืองที่น่าสนใจ เพราะเป็นศูนย์กลางของภาคเหนือของประเทศไทย มีอากาศที่หนาวเย็นเมื่อเทียบกับภูมิภาคอื่นของประเทศไทย และมีความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ ก่อให้เกิดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่งดงามมากมาย ควบคู่ไปกับเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมพื้นเมืองที่หลากหลาย และประเพณีท้องถิ่นที่สะท้อนให้เห็นถึงเสน่ห์ของภูมิภาค รวมถึงอาหารพื้นเมืองที่เป็นเอกลักษณ์ของผู้มาเยือนโดยไม่มีวันเบื่อหน่ายและจืดจางลง จากความน่าสนใจดังกล่าว การจัดการประสิทธิภาพการขนส่งทางรางจึงมีความเป็นและเป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการไม่ควรมองข้ามโอกาสในการต่อยอดทางธุรกิจเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้น บทความวิชาการนี้จึงมุ่งเน้นที่จะรวบรวมข้อมูลในทุก ๆ ด้านที่เกี่ยวข้องกับการจัดการประสิทธิภาพการขนส่งทางราง และการท่องเที่ยวในแต่ละฤดูกาล เพื่อใช้สำหรับการพัฒนาปรับปรุงการจัดการประสิทธิภาพการขนส่งทางราง สำหรับการท่องเที่ยวได้อย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ
References
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2560). ยุทธศาสตร์กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ.
คมสัน สุริยะ. (2552). ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ในการวิจัยทางเศรษฐศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2561. จาก www.tourismlogistics.com
คำนาย อภิปรัชญาสกุล. (2550). โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน กลยุทธ์สำหรับลดต้นทุนและเพิ่มกำไร. กรุงเทพฯ : บริษัท โฟกัสมีเดียแอนด์ พับลิซซิ่ง จำกัด.
ฉลองศรี พิมลสมพงศ์. (2550). การวางแผนและพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ชัยธวัช ทองอินทร์. (2549). กระบวนทัศน์ของการจัดการโลจิสติกส์สำหรับอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว. การกระชุมสัมมนาเชิงวิชาการประจำปี 2549.การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ครั้งที่ 6.
ชิตสกนธ์ ตั้งละมัย. (2548). การบริหารซับพลายเซนในธุรกิจอาหารสัตว์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
ชุติมา คล้ายสังข์. (2557). พฤติกรรมและปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการร้านเสริมสวยเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
ดิษย์ฐา กันทะแสน. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพการให้บริการของธุรกิจนำเที่ยวต่างประเทศ : มุมมองด้านโลจิสติกส์การท่องเที่ยว. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง).
ทมนี สุขใส. (2560). ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศด้านโลจิสติกส์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา).
บัณฑิต ศรีสวัสดิ์. (2590). เทคโนโลยีสารสนเทศกับโลจิสติกส์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 4. สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร, 22 ธันวาคม 2560, 1337-1348.
ปนัสยา สิระรุ่งโรจน์กนก. (2559) . พฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อการจัดการโลจิสติกส์การท่องเที่ยว กรณีศึกษาตลาดน้ำอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. (ภาคนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา).
ปิยนันท์ นามวงศ์. (2551). ประสิทธิภาพการจัดการขนส่งของธุรกิจจำหน่ายวัสดุก่อสร้างในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม).
พชรรร เศรษฐยานนท์. (2554). การจัดการโลจิสติกส์ที่ส่งผลต่อผลประกอบการของร้านดอกไม้ ในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์บริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).
ไพรัช พิบูลย์รุ่งโรจน์. (2552). ทฤษฎีที่ใช้ในงานวิจัยด้านโลจิสติกส์. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2561. จาก http://www.tourismlogistics.com/index.php?option=com_content&view=article&id=180:tourism-logistics-or-tourism- supply-chain-management&catid=66:2008-12-10-04-54-26&Itemid=80
ภาคภูมิ พร้อมไวพล. (2551). พฤติกรรมการซื้อและปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าไอพอทของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).
มิ่งสรรพ์ ขาวสะอาด และคณะฯ. (2551). การวิเคราะห์โลจิสติกส์ด้านการท่องเที่ยวในเมืองท่องเที่ยว การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการที่ยั่งยืนในลุ่มแม่น้ำโขง 3 การเปรียบเทียบเชิงโลจิสติกส์. (รายงานวิจัยสถาบันวิจัยสังคม, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).
เมฐินี ภิญโญประการ. (2558). สภาพแวดล้อมทางกายภาพ คุณภาพในการให้บริการสื่อสังคมออนไลน์ และคุณภาพอาหารที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้บริการร้านอาหารเวียดนามซ้ำของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).
วราภรณ์ สารอินมูล. (2560). การพัฒนาศักยภาพระบบโลจิสติกส์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศจังหวัดนครปฐม. (รายงานวิจัยปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา).
วิชญะ กิตติรัตนา. (2559). ความสามารถในการให้บริการโลจิสติกส์ที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้บริโภค. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสยาม).
ศาสตรา ศรีวะรมย์. (2558). ปัจจัยทางสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ส่งผลต่อความรู้สึกปลอดภัยในการเข้าใช้งานภายในอาคารสถานศึกษา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).
ศรัญญา เลิศมนไพโรจน์. (2550). การศึกษาความต้องการของผู้ประกอบธุรกิจนำเที่ยวเนื้อหาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2541). กลยุทธ์การตลาดและการบริหารการตลาด. กรุงเทพฯ : ธีระฟิลม์และโซเท็กซ์.
ศุภลักษณ์ อังครางกูร. (2555). พฤติกรรมนักท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
สกาวรัตน์ โบไธสง. (2560). ระบบสารสนเทศ. สืบค้นเมื่อ 13กรกฎาคม 2561. จาก https://docs.google.com/presentation/d/1SnNX6a473EFMXnMJfSjEDFKaSF5bVxC8oCxgXFZtSN0/edit#slide=id.p
สำนักงานสถิติจังหวัดเชียงใหม่. (2560). จำนวนนักท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงใหม่. ค้นเมื่อ 13 กรกฎาคม 2561. จาก http://chiangmai.nso.go.th/index.php?option= com_content&view=article&id=506&Itemid=597
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2557). การปฏิรูปการขนส่งระบบราง: รถไฟรางคู่. เอกสารสาระสังเขปประเด็นการปฏิรูปประเทศไทย ด้านเศรษฐกิจ.
สิริรัตน์ นาคแป้ง. (2555). พฤติกรรมและแรงจูงใจของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในการมาท่องเที่ยวเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์).
สิริวัตร เรืองกระจ่างพันธ์.(2558). ความพึงพอใจในการให้บริการของผู้ถือบัตร KTC-GSB. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสยาม).
สุถี เสริฐศรี. (2557). แนวทางการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในชุมชนคลองโคน อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).
ไสว ชัยบุญเรือง. (2555). คุณภาพการให้บริการผู้ใช้ไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอเกาะช้าง จังหวัดตราด. (ปัญหาพิเศษปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา).
อมลิณรัศมิ์ ศรีบัวนำ. (2559). การจัดการโลจิสติกส์สำหรับการท่องเที่ยวในวัดศรีสุพรรณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. (ค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยแม่โจ้).
อาศยา โชติพานิช. (2555). เทคนิคการให้บริการ. สืบค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2561. จากwww.opdc.dgr.go.th/dgr51_1.doc.
อัจฉรา สุทธิเกษมคุณ. (2550). ความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อการสั่งซื้อพิซซ่าฮัทแบบบริการส่งถึงบ้านในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).
อุไร ดวงระหว้า. (2554). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อคุณภาพการให้บริการศูนย์บริการ One Stop Service :กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี).
Lumsdon, L., & Page, S.J. (2004). Tourism and Transport Issues and Agenda for the New Millennium. London : Elsevier.
Tourism Western Australia. (2008). Five A’s of Tourism. Retrieved August 26, 2018, from http://www.tourism.wa.gov.au/jumpstartguide/pdf/Quickstart_five%20A's%20of%20TourismLOW.pdf.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการสังคมศาสตร์เครือข่ายวิจัยประชาชื่น