ระบบอุปถัมภ์กับปัญหาความยากจนในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ฐานริณทร์ หาญเกียรติวงศ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • รุจิกาญจน์ สานนท์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • ทีปอุทัย แสนกาศ พิพิธภัณฑ์ศิลปะหริภุญชัย

คำสำคัญ:

ระบบอุปถัมภ์, ปัญหาความยากจน, ความยั่งยืน

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์สภาพปัญหาของระบบอุปถัมภ์ในประเทศไทย 2) วิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างระบบอุปถัมภ์กับปัญหาความยากจนในประเทศไทย 3) นำเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาความยากจนในประเทศไทยอย่างยั่งยืน บทความนี้เป็นการวิจัยเอกสาร

ผลการศึกษา พบว่า 1) ปัญหาของระบบอุปถัมภ์ในประเทศไทยประกอบไปด้วยระบบอุปถัมภ์ในเรื่องเกี่ยวกับการเมืองโดยมีลักษณะวัฒนธรรมทางการเมืองแบบต่างตอบแทน 2) ความเชื่อมโยงระหว่างระบบอุปถัมภ์ซึ่งเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมการเมืองมีผลต่อปัญหาความยากจนในด้านการเปลี่ยนนโยบาย การบริหารงานและการปฏิบัติ และต่อประชาชนทั้งประเทศ และ 3) แนวทางการแก้ไขปัญหาความยากจนในประเทศไทยอย่างยั่งยืนคือการร่วมแบ่งปันผลประโยชน์ทางสังคมอย่างสมดุล โปร่งใส และปราศจากระบบอุปถัมภ์ร่วมกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และภาคประชาสังคม

References

จักรกฤษณ์ นรติผดุงการ. (2523). แนวความคิดใหม่ในการพัฒนาชนบทการวางพัฒนาจังหวัด อำเภอ ตำบล: ทฤษฎีและปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สารมวลชน.

ฉัตรชัย สุระภา. (2554). ระบบอุปถัมภ์ในการเมืองท้องถิ่น: ศึกษาเฉพาะกรณีองค์การบริหารส่วนตำบลธัญา อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม).

ฉัตรชัย เอมราช. (2558). รัฐธรรมนูญในอุดมคติของสังคมไทย: รัฐธรรมนูญที่ไม่เอื้อประโยชน์แก่ระบบอุปถัมภ์. วารสารนักบริหาร, 35(2), 61-71.

วิทยากร เชียงกูล. (2547). พัฒนาการแบบยั่งยืนกับการแก้ปัญหาคนจน. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).

ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล. (2548). ชีวิต ความคิดและงานของ ม.ร.ว.อคิน รพีพัฒน์. (ฉบับ 2548). ใน ระบบอุปถัมภ์กับการพัฒนาสังคม: ด้านหนึ่งในการเปลี่ยนแปลงสังคมไทย (น.10-39). การแสดงปาฐกถาพิเศษ ป๋วย อึ้งภากรณ์ ครั้งที่ 9 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด สามลดา.

พระครูวาทีธรรมวิภัช, พระครูวิจิตรรัตนวัตร, พระครูรัตนสุดากร และไพรัตน์ ฉิมหาด. (2563). ระบบอุปถัมภ์กับอำนาจการต่อรองของพรรคการเมือง. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7(5), 62-71.

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2552). ความหมาย ของ ความยากจน. สืบค้นจาก http://www.royin.go.th/?knowledges=%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B

สุจิต บุญบงการ. (2545). ระบบอุปถัมภ์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬามหาวิทยาลัย.

สิทธิโชค ลางคุลานนท์. (2552). พัฒนาการและบทบาททางการเมืองของกลุ่มธุรกิจการเมืองในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์).

อมรา พงศาพิชญ์ และปรีชา คุวินทร์พันธุ์. (2554). ระบบอุปถัมภ์. กรุงเทพมหานคร: วิญญู.

อมรา พงศาพิชญ์ และปรีชา คุวินทร์พันธุ์. (2539). ระบบอุปถัมภ์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อุราชนก คงกล่ำ. (2561). ระบบอุปถัมภ์ในระบบราชการไทย: วาระแห่งชาติที่ต้องเร่งแก้ไข. ใน การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 13 “วิถีนวัตกรรมไทยด้วยการพัฒนางานวิจัย” (น.13-22). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.

Friedman, Rose. D. (1965). Poverty: Definition and Perspective. American Enterprise Institute for Public Policy Research (Report). Washington, DC.

Foresthailand. (2019). 7 สาเหตุของความยากจนในสังคมไทย, Retrieved from https://forbesthailand.com/commentaries/insights/7-%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B1.html

Huntington, S.P. (1986). Political order in changing societies. London: Yale University Press.

Scott, J. C. (1972). Patron-client politics and political change in Southeast Asia. The American political science review, 66(1), 91-113.

Scott, J. (1990). A Matter of Record, Documentary Sources in Social Research. Cambridge: Policy Press.

Scott, J. (2006). Social Research and Documentary Sources. Sage Benchmarks in Social Research Methods, Documentary Research Volume 1. SAGE Publication. 3-40.

Smith, A. (1776). An inquiry into the nature and causes of the wealth of nations: Volume One. London: printed for W. Strahan; and T. Cadell, 1776.

THE WORLD BANK. (2020). Taking the Pulse of Poverty and Inequality in Thailand. Retrieved from https://www.worldbank.org/en/country/thailand/publication/taking-the-pulse-of-poverty-and-inequality-in-thailand

WORLD BANK GROUP. (2020). Taking the Pulse of Poverty and Inequality in Thailand. Retrieved from http://pubdocs.worldbank.org/en/149501583303319716/pdf/WB-Poverty-Report-Thailand-2020-Low-res.pdf

Todaro, M. P. & Smith, S. C. (2008). Economic development (book 1). Jakarta: Erlangga Publisher.

ThaiPUBLICA. (2020). รายงานธนาคารโลกพบ “คนจนไทย” สูงขึ้น ยุครัฐบาลรัฐประหาร “ประยุทธ์ จันทร์โอชา”. Retrieved from https://thaipublica.org/2020/03/world-bank-report-poverty-inequality-thailand/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-30