ทักษะพื้นฐานและเทคนิคที่สำคัญในการปฏิบัติแซ็กโซโฟน
Keywords:
การปฏิบัติเครื่องดนตรี, เครื่องดนตรี, แซ็กโซโฟนAbstract
การปฏิบัติเครื่องดนตรีไม่ว่าจะเป็นเครื่องดนตรีชนิดใดย่อมต้องมีเทคนิคในการฝึกฝน ฝึกหัดในการปฏิบัติการปฏิบัติดนตรีให้มีความไพเราะน่าฟังนั้น เกิดจากทักษะความสามารถของผู้บรรเลงซึ่งได้ฝึกและพัฒนาตนเองอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง ด้วยวิธีการรู้เข้าใจในเครื่องดนตรีที่ตนเองฝึกโดยการศึกษาเทคนิควิธีการบรรเลงต่าง ของเครื่องดนตรีชนิดนั้นๆ จากการฝึกทักษะการบรรเลงจากขั้นพื้นฐานไปถึงขั้นสูง สำหรับการปฏิบัติแซ็กโซโฟนนั้น มีทักษะพื้นฐานและเทคนิคที่สำคัญประกอบด้วย 3 เรื่องคือ1) การใช้ลมเพื่อผลิตเสียง 2) การใช้นิ้วเพื่อเปลี่ยนระดับเสียง และ 3) การใช้ลิ้นช่วยในการสั่นสะเทือนทำให้การเกิดเสียง ทั้ง 3 เรื่องนี้เป็นการวางพื้นฐานในการฝึกปฏิบัติให้กับผู้ปฏิบัติแซ็กโซโฟนเพื่อให้มีความพร้อมความสามารถในการปฏิบัติ แซ็กโซโฟนได้เป็นอย่างดี และจะทำให้การปฏิบัติแซ็กโซโฟนออกมามีความไพเราะ
References
มหาวิทยาลัยมหิดล.
วรินธร สีเสียดงาม. (2562). การเชื่อมเสียง (Slur). กรุงเทพฯ: ภาควิชาดนตรีตะวันตก มหาวิทยาลัยราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
----------. (2562). การเน้นเสียง (Accent). กรุงเทพฯ: ภาควิชาดนตรีตะวันตก มหาวิทยาลัยราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
----------. (2562). การปฏิบัติแซ็กโซโฟนเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ เจ้าพระยา.
----------. (2562). การเป่าโน้ตตามความเบา-ดังของเสียง. กรุงเทพฯ: ภาควิชาดนตรีตะวันตก
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
----------. (2562). การฝึกลากเสียง. กรุงเทพฯ: ภาควิชาดนตรีตะวันตก มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ เจ้าพระยา.
----------. (2562). การเล่นเสียงสั้น. กรุงเทพฯ: ภาควิชาดนตรีตะวันตก มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ เจ้าพระยา.
----------. (2562). ตัวโน้ตเพี้ยนต่ำเนื่องจากข้อบกพร่องของเครื่องดนตรี. กรุงเทพฯ: ภาควิชาดนตรีตะวันตก
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
----------. (2562). ตัวโน้ตเพี้ยนสูงเนื่องจากข้อบกพร่องของเครื่องดนตรี. กรุงเทพฯ: ภาควิชาดนตรีตะวันตก
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
วรินธร สีเสียดงาม. (2562). บทฝึกขั้นคู่ 3 ของบันไดเสียง. กรุงเทพฯ: ภาควิชาดนตรีตะวันตก มหาวิทยาลัย
ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
----------. (2562). บทฝึกคอร์ดบันไดเสียง. กรุงเทพฯ: ภาควิชาดนตรีตะวันตก มหาวิทยาลัยราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
----------. (2562). บทฝึกบันไดเสียง. กรุงเทพฯ: ภาควิชาดนตรีตะวันตก มหาวิทยาลัยราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
----------. (2562). เปรียบเทียบระหว่างเครื่องหมายการเชื่อมเสียง (Slur) และ เครื่องหมายการโยงเสียง
(Tie). กรุงเทพฯ: ภาควิชาดนตรีตะวันตก มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
----------. (2562). ลักษณะของการควบคุมลมเพื่อให้ระดับเสียงดังสม่ำเสมอกันจนครบจังหวะ. กรุงเทพฯ:
ภาควิชาดนตรีตะวันตก มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
----------. (2562). รูปแบบโน้ตในการปฏิบัติการเล่นเสียงสั้น (Staccato). กรุงเทพฯ: ภาควิชาดนตรีตะวันตก
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
----------. (2562). เส้นเสียงเดิมของแซ็กโซโฟน. กรุงเทพฯ: ภาควิชาดนตรีตะวันตก มหาวิทยาลัยราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
----------. (2562). เส้นเสียงลักษณะของเสียงระรัว.กรุงเทพฯ:ภาควิชาดนตรีตะวันตก มหาวิทยาลัยราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
Colwell, J.R. & Hewit, P.M. (2011). The teaching of instrumental music (4thed).
NewJersey :PeasonEducation.
Hemke, F. (1977). Teacher's guide to the saxophone. Paris: Selmer.
Ingham, R. (1998). The Cambridge companion to the Saxophone. Cambridge:
Cambridge University Press.
Kohut, D. L. (1996). Instrumental music pedagogy: teaching techniques for school band
and orchestra directors. IIIinois: Stipes Pub Llc.
McKim, D.J. (2000). Joseph Allard: his contributions to saxophone pedagogy and
performance. Doctoral dissertation, University of Northern Colorado.
Skornica, E.J. (1991). Rubank intermediate method Saxophone. Minnesota:
RubankPublications.
Downloads
Published
Issue
Section
License
บทความ ข้อความ ภาพประกอบ และตารางประกอบที่ลงพิมพ์ในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้นิพนธ์ กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นตามเสมอไป และไม่มีส่วนรับผิดชอบใดๆ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์เพียงผู้เดียว