An Analysis, Interpretation and The Direction to Practice Mozart’s Andante for Flute and Orchestra K.315
Keywords:
วงดุริยางค์, การแสดงคอนเสิร์ต, ฟลูตAbstract
บทเพลงอันดันเตสำหรับฟลูตและวงดุริยางค์(Andante for Flute and Orchestra) เป็นบทเพลงท่อนช้าของ โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมสาร์ท (Wolfgang Amadeus Mozart) เป็นบทเพลงเพลงหนึ่งที่มีชื่อเสียง และเป็นที่นิยมสำหรับนักดนตรีที่นำไปบรรเลงในการแสดงคอนเสิร์ตอยู่บ่อยครั้ง นอกจากนี้ในด้านการเรียนการสอนวิชาดนตรีปฏิบัติ ผู้สอนฟลูตก็มักจะนำบทเพลงดังกล่าวมาเป็นหนึ่งบทเรียนในการเรียนบทเพลงท่อนช้าในยุคคลาสสิค แต่ในปัจจุบันยังไม่พบข้อมูลเอกสารเกี่ยวกับบทเพลงอันดันเตบทนี้ที่เป็นภาษาไทย ผู้เขียนจึงนำเสนอบทความนี้เพื่อวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เป็นข้อมูลประกอบในการวิเคราะห์ตีความบทเพลง2) เป็นแนวทางในการฝึกซ้อมบทเพลง ซึ่งน่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาด้านการปฏิบัติเครื่องดนตรี ฟลูต ต่อไป ไม่มากก็น้อย
References
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัชชา โสคติยานุรักษ์. (2542). สังคีตลักษณ์และการวิเคราะห์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัชชา พันธ์เจริญ. (2552). พจนานุกรมศัพท์ดุริยางคศิลป์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: เกศกะรัต.
วรพจน์ เชื้อสำราญ. (2555). การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบด้านระบบโครมาติกในท่อนแรกของบทเพลง
ซิมโฟนีหมายเลข 90 ประพันธ์โดย ฟรานซ์ โยเซฟ ไฮเดิน และบทเพลงซิมโฟนี หมายเลข 41 ประพันธ์
โดย โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมสาร์ท (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยรังสิต.
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2561). พจนานุกรมศัพท์ดนตรีสากล ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
Grout, D. J. & Palisca, C. V. (1996). A history of Western Music (5th ed.). New York: Norton.
Kostka, S. & Payne, D. (2009). Tonal harmony (6th ed.). NewYork: Mcgraw – Hill.
Toff, N. (2012). The Flute book a complete guide for students and performer (3rd ed.).
New York: Oxford University Press.
Wolff, M. (1948). W. A. Mozart Andante for Flute and Orchestra K. 315. Flute and Piano
arrangement [Music Score]. London: Rudall Carte.
Downloads
Published
Issue
Section
License
บทความ ข้อความ ภาพประกอบ และตารางประกอบที่ลงพิมพ์ในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้นิพนธ์ กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นตามเสมอไป และไม่มีส่วนรับผิดชอบใดๆ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์เพียงผู้เดียว