การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการประเมินด้านการปฏิบัติงานของครูผู้ช่วย ระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลพบุรี

Main Article Content

พิชิตชัย บุปผาโท
ปรีชา วิหคโต

Abstract

    The purposes of this study were: 1) to develop an information system for evaluating the performance of assistant teachers at secondary schools under the Lopburi Provincial Education Office and 2) to study efficiency of the information system for evaluating the performance of assistant teachers at secondary schools under the Lopburi Provincial Education Office. This study is a type of research and development. The research procedure consisted of 3 stages as follows: stage 1 : determining conceptual framework of the research by studying documents, textbooks, and related research, stage 2 : designing and constructing an information system using the focus group discussion technique, and stage 3 : experimenting in usage of the information system. The sample used was 3 secondary schools under the Lopburi Provincial Education Office selected by purposive sampling based on each of all the school sizes: small, medium and large. Informants included a school administrator, a basic school board member, a teacher who was in charge of evaluating the performance and an assistant teacher out of each of the three secondary schools totaling 12 people. The instrument used was a form for evaluating efficiency of the information system by asking the school administrators, basic school board members, teachers who were in charge of evaluating the performance and assistant teachers to experiment in using the information system and evaluate its efficiency. Statistics used in data analysis were mean and standard deviation.
    The study found as follows: 1) the information system for evaluating the performance of assistant teachers at secondary schools under the Lopburi Provincial Education Office consisted of 3 aspects, namely aspect 1 – design, aspect 2 – work process, and aspect 3 – outcome or evaluation report; 2) the efficiency of the information system as a whole was at high level ( = 4.43, S.D. = 0.13). When considering each aspect of efficiency, it found that the aspect of outcome or evaluation report was at the highest level ( = 4.58, S.D. = 0.09), followed by ranking in descending order of the other aspects of ‘design’ ( = 4.40, S.D. = 0.12), and ‘work process’ ( = 4.32, S.D. = 0.15), respectively.


 

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research article)

References

กาญจนา ภูอาลัย. (2559). การพัฒนาโปรแกรมสารสนเทศเพื่อการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. กาญจนบุรี : มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.
จันเพชร ดายังหยุด. (2556). สภาพและปัญหาในการปฏิบัติตนและการปฏิบัติงานของครูผู้ช่วยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ชัชพลวานิช เพชรดง. (2556). การพัฒนาโปรแกรมสารสนเทศเพื่อการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. กาญจนบุรี : มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.
เชิญพัดชา พรหมราชแก้ว. (2556). สาเหตุที่มีผลต่อความเครียดของครูผู้ช่วยในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 จังหวัดตรัง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.
ธนวัฒน์ พินนอก (2559). การพัฒนาโปรแกรมสารสนเทศด้านคุณภาพผู้เรียนเพื่อการบริหารงานประกันคุณภาพภายในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. กาญจนบุรี : มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.
ธัชญา แสงศรี. (2556). กระบวนการพัฒนาเครื่องมือการประเมินผลการปฏิบัติวิชาชีพของครูผู้ช่วย. วิทยานิพนธ์xปริญญาดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
นพดล ศิริทรัพย์. (2556). ระบบสารสนเทศกับการบริหารงานบุคคลของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พยัพ อนันนิล. (2557). รูปแบบการบริหารเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูผู้ช่วยในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
พัชรี กึกขุนทด. (2557). ความท้อแท้ของครูผู้ช่วยในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.
ภานุมาศ พฤกษชาติ. (2556). ความเครียดของครูผู้ช่วยในสถานศึกษาจังหวัดตราด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.
สิยาพัฐ รักป่า. (2556). การพัฒนาโปรแกรมสารสนเทศเพื่อการนิเทศภายในโรงเรียนระดับปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. กาญจนบุรี : มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.
อภิวัฒน์ บุญนิธิภัทร. (2554, กรกฎาคม - ธันวาคม). สภาพ ปัญหา และความต้องการการจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม เขต 2. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 1(2), 31-38.
อัญชลี อุดรกิจ. (2557). สภาพและปัญหาในการปฏิบัติงานของครูผู้ช่วยในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
Best, J. W. (1981). Research in education. New Jersey : Prentice Hall.
Houle, C. (1996). The Design of Education. Sanfrancisco : Jossey-Bass.
Knowles, M S. (1980). The Modem Practice of Adult Education from Pedagogy to Andragogy. New York : The Adult Education Company.
Likert, R. (1961). New patterns of management. New York : McGraw – Hill Book Company Inc.
Simon, H. A. (1960). Administrative Behavior. New York : The McMillen Company.
Susan, M. (2003). The Importance of Profession Culture in New Teachers’ Job Satisfaction. Annual Meeting of the American Educational Research Association, Montreal, Canada.
Watzke, J. L. (2007). Foreign Language Pedagogical Knowledge : Toward a Developmental. Theory of Beginning Teacher Practices. The Modern Language Journal. 91(1) : 63-82.
William, B. W. (1990). Canadian Human Resource Management. Toronto McGraw-Hill Ryerson.
Wu, Ming-Chuan. (2004). “Continuous Evaluation of Information System Development : A Reference Model,” Dissertation Abstracts International. 64 : 2569-A.