กลุ่มชาติพันธุ์ลาวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา: ประวัติความเป็นมา วัฒนธรรม และแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

Main Article Content

บังอร บุญปั้น

Abstract

     The purposes of this study were: 1) to investigate history and cultural characteristics of Lao ethnic groups who lived in the Phra Nakhon Si Ayutthaya province area, and 2) to examine guidelines for promoting cultural tourism in the Lao ethnic group community in the Phra Nakhon Si Ayutthaya province area. The study was conducted by relevant document examination, field data collection, interviews, focus group discussion, observation, and organization of the platform for exchange of learning. Data gained were analyzed, interpreted, concluded, and presented via descriptive analysis.


     The study results were as follows. 1) There were 2 villages of the Lao ethnic groups who lived in the Phra Nakhon Si Ayutthaya province area, namely Ban Ton Pho and Ban Phai Nong in Tha Chang Sub-district, Nakhon Luang district. The Lao language used to communicate was found among the 4-5 people only. The cultural identities of the Lao ethnic groups remaining in the area were Wai Khru ceremony among blacksmiths, Lord Vishnu warship ceremony, flower-offering merit making, and tradition of making an Aranyik knife. 2) The investigation of guidelines for promoting cultural tourism in the Lao ethnic group community should be based on promotion of traditional and cultural tourism, archaeological site tourism, museums, and learning of how to make an Aranyik knife.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research article)

References

กระทรวงวัฒนธรรม. (2556). พิธีไหว้ครูบูชาเตา : บ้านไผ่หนอง. สืบค้นเมื่อ สิงหาคม 2559, จาก http://www.m-culture.go.th.
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. (2559). วิสัยทัศน์/พันธกิจ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. สืบค้นเมื่อ สิงหาคม 2559, จาก http://ww2.ayutthaya.go.th/content/vision.
ชานนท์ วิสุทธิชานนท์. (2558). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาชาวบ้านในตำบลคลองแดน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. สงขลา : มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
ชุมชนบ้านไผ่หนอง. (2553). ประวัติหมู่บ้านไผ่หนอง. พระนครศรีอยุธยา : บ้านหว้า.
ณัฐพจน์ โพธิ์เจริญ, สุพรรณี เหลืองบุญชู, และปัทมาวดี ชาญสุวรรณ. (2559). การสืบทอดและอนุรักษ์ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวเวียง ตำบลดอนคา อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 7(1), 9-23.
บัญญัติ คำศรี. (2559, 21 เมษายน). ปราชญ์ชาวบ้าน บ้านไผ่หนอง ตำบลท่าช้าง อำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. [สัมภาษณ์].
บัญญัติ คำศรี. (2559, 28 เมษายน). ปราชญ์ชาวบ้าน บ้านไผ่หนอง ตำบลท่าช้าง อำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. [สัมภาษณ์].
ประพันธ์ แสงทองดี. (2559). การศึกษาการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นของอำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิชาการ, 5(1), 40-44.
วรภพ วงศ์รอด. (2557). แนวทางการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแบบมีส่วนร่วมของชุมชนวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 9(26), 13-28.
สัจจา ไกรศรรัตน์. (2555). วัฒนธรรม 8 ชาติพันธุ์จังหวัดราชบุรีในบริบทของการท่องเที่ยว. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวนานาชาติ, 8(2), 19-32.
สำนักงานสถิติจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. (2559). รายงานสถิติจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. สืบค้นเมื่อ สิงหาคม, 2559 จาก http://ayuttaya.nso.go.th/.