การใช้โปรแกรมบัญชีการเงินโรงเรียน ในการปฏิบัติงานการเงินในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1

Main Article Content

วิวัฒน์ อินทร์ติยะ
ชาญวิทย์ หาญรินทร์
รชฏ สุวรรณกูฎ

Abstract

     The purposes of this research were: 1) to investigate the need to use a school financial accounting software in financial performance practice in schools under the Office of Nakhon Phanom Primary Education Service Area 1, 2) to compare the need to use a school financial accounting software in financial performance practice in schools under the Office of Nakhon Phanom Primary Education Service Area 1 as classified by status and work experience. The samples were 222 administrators and teachers practicing financial performance who were derived from stratified random sampling from schools under the Office of Nakhon Phanom Primary Education Service Area 1 The instrument used was a 5 point rating scale questionnaire which had discrimination power values ranging between 0.60 and 0.86 and an entire reliability coefficient of 0.97. Statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation,  t-test and F-test.
     The research results were as follows: 1) the overall needs to use school financial accounting software in schools under the Office of Nakhon Phanom Primary Education Service Area 1 was at high level in financial performance practice. 2) The school administrators and the teachers practicing financial performance in schools under the Office of Nakhon Phanom Primary Education Service Area 1 whose statuses were different had a significant difference in need of using school financial accounting software at the .01 level. The school administrators and the teachers practicing financial performance in schools whose work experiences were different had no statistically significant difference in need of using a school financial accounting software in financial performance practice in schools under the Office of Nakhon Phanom Primary Education Service Area 1.


 

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research article)

References

กรรณิการ์ ใจหาญ. (2558). ปัญหาการบริหารงานการเงินและบัญชีของโรงเรียน ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้ปฏิบัติงานการเงิน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. ลพบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
จีรนันท์ สมน้อย. (2559). แนวทางการบริหารงบประมาณตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. นครสวรรค์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์. (2548). การใช้ SPSS เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ทองใบ สุดชารี. (2546). ทฤษฎีองค์การวิเคราะห์แนวความคิดทฤษฎีและประยุกต์. อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี.
บุญชม ศรีสะอาด. (2551). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย. มหาสารคาม : มหาวิทยามหาสารคาม.
ยุทธนากร แก้วกัลยา. (2556). ศึกษาและแนวทางพัฒนาการปฏิบัติงานการเงินโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.
ลัดนา ชาววังกรานต์. (2557). ปัญหาและแนวทางแก้ไขการปฏิบัติงานด้านการเงิน บัญชี และพัสดุ ของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปศุสัตว์ เขต 1 กรมปศุสัตว์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
วรกาญจน์ สุขสดเขียว. (2556). การบริหารงบประมาณสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม เขต 9. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วลีพร จิตรพงษ์. (2556). ICT กับนักบัญชีมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
วิไล ทองแผ่. (2542). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย. ลพบุรี : ศูนย์การพิมพ์สถาบันราชภัฎเทพสตรี.
สุกิจ เชิดสถิรกุล. (2556). ความต้องการของผู้ทำบัญชีโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ต่อการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1. (2558). รายงานการตรวจสอบภายในปีงบประมาณ 2558. นครพนม : นครพนมการพิมพ์.
สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน. (2557). วินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ.2544. กรุงเทพฯ : กระทรวงการคลัง.
หน่วยงานตรวจสอบภายใน. (2555). คู่มือการบัญชี สำหรับหน่วยงานย่อย พ.ศ. 2515. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
Suetomi, K. (2014). Reform of the educational finance system as the foundation of compulsory education. Educational Studies in Japan : International Yearbook, 8 ; 143-158.