ผลกระทบของนโยบายการรับผู้ป่วย จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไปรักษาพยาบาลที่ภูมิลำเนา กรณีศึกษา อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

ผู้แต่ง

  • พระปลัดสุระ ญาณธโร หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยสงฆ์สุรินทร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์
  • วรภูริ มูลสิน หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยสงฆ์สุรินทร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์
  • พระครูปริยัติปัญญาโสภณ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยสงฆ์สุรินทร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์
  • วันชัย ชูศรีสุข หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยสงฆ์สุรินทร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์

คำสำคัญ:

นโยบาย, การรับผู้ป่วย, โคโรน่าไวรัส 2019

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ศึกษาผลกระทบของนโยบายการรับผู้ป่วย จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ไปรักษาที่ภูมิลำเนากรณีศึกษา อำเภอ เสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ซึ่งมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาผลกระทบของนโยบายการรับผู้ป่วย 2. เพื่อศึกษาผลกระทบต่อครอบครัวและชุมชนจากนโยบายการรับผู้ป่วย 3. เพื่อศึกษาผลกระทบต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จากนโยบายการรับผู้ป่วย 4. เพื่อเสนอแนะนโยบายการรับผู้ป่วย จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไปรักษาพยาบาลที่ภูมิลำเนา กรณีศึกษา อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

ผลการวิจัยพบว่า 1.ประชาชนได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 โดยได้รับความเดือดร้อน สถานที่รักษาพยาบาลมีไม่เพียงพอ ทำให้ผู้ติดโควิดส่วนใหญ่ต้องการกลับไปรักษาตัวที่ภูมิลำเนา 2.การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 ทำให้ชุมชน ต้องรับผู้ป่วยที่ต้องการกลับมารักษาตัวที่ภูมิลำเนา เป็นภาระแก่ครอบครัวที่ต้องส่งเสบียงอาหารมาส่งให้ นอกจากนี้การกลับมากักตัวที่ภูมิลำเนา ได้เกิดปัญหาความขาดแคลนในวัสดุอุปกรณ์ที่ป้องกันการติดเชื้อโดยเฉพาะ พีพีอี และถุงมือยางของศูนย์พักคอยและโรงพยาบาลสนามที่ต้องขอรับการบริจาค 3.บางคนก็ติดโควิดก็เป็นภาระของโรงพยาบาล โรงพยาบาลส่วนใหญ่ที่ขาดแคลนอุปกรณ์ เช่น เครื่องออกซิเจนเตียงคนไข้หนักก็ต้องแบ่งให้แก่คนป่วยหนักที่ติดโควิด ส่วนคนไข้ที่มารักษา ถ้าจะผ่าตัดหมอจะเลื่อนนักออกไปก่อน 4.อยากให้หน่วยงานรัฐกระทรวงสาธารณสุขสนับสนุนงบประมาณในการทำศูนย์พักคอยและสนับสนุนงบประมาณเพื่อจัดหา วัสดุอุปกรณ์ สาธารณูปโภคที่จำเป็นต้องมีความพร้อมมากกว่านี้

References

เฉลิมจิตร เชาว์ไทย. (2564, 25 กรกฎาคม). อสม. บ้านหนองกุง ตำบลภูเงิน อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. สัมภาษณ์.

ชัชวาลล์ คงอุดม. (2564, 19 สิงหาคม). ข่าวประจำวัน. สยามรัฐ, จาก https://siamrath.co.th/n/258114

ทองดี ตะโคชาม. (2564, 5 สิงหาคม). อสม. บ้านหนองกุง ตำบลภูเงิน อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. สัมภาษณ์.

บรรพต ปานเคลือบ. (2564). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับอาการของผู้ป่วยโรคโควิด-19 ในรงพยาบาลชุมชน อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต. จาก https://www.vachiraphuket.go.th/ articles/research/factors-related-to-ymptoms-of-patients-covid-19-in-the-community-hospital-thalang-phuket/

บุญ ชลวารี. (2564, 25 กรกฎาคม). อสม. บ้านหนองกุง ตำบลภูเงิน อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. สัมภาษณ์.

ริญญา ตะโคชาม. (2564, 5 สิงหาคม). อสม. บ้านหนองกุง ตำบลภูเงิน อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. สัมภาษณ์.

ผู้ว่าเปิดศูนย์ประสานงานช่วยเหลือคนร้อยเอ็ดกลับบ้านและจุดรับบริจาค. (2564, 8 กรกฎาคม). จากhttps://www.roiet.go.th/img-207.html

พัชรินทร์ ศรีจันทร์. (2564, 5 สิงหาคม). ผู้นำชุมชน.บ้านหนองกุง ตำบลภูเงิน อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. สัมภาษณ์.

พันธ์ทิพย์ กาญจนาจิตรา สายสุนทร. (2551). การเข้ามาของคนต่างด้าวเพื่อทำงาน: ข้อรวจทางกฎหมาย ปัญหาและทางเลือกโยบาย.นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและงคมมหาวิทยาลัยมหิดล.

พิริยะ ผลพิรุฬห์. (2564). การประเมินผลกระทบของเศรษฐกิจมหภาคจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 และนัยเชิงนโยบาย. ECONOMICS NIDA. จาก https://www.econ.nida.ac.th.

การประเมินผลกระทบของเศรษฐกิจแพทย์โรคติดเชื้อและระบาดวิทยา. (2563, 13 มกราคม). จาก http://phoubon.in.th/covid20รามา.pdf.

มณฑลี กปิลกาญจน์, พรชนก เทพขาม, นันทนิตย์ทองศรีและพัทยา เลาสุทแสน. (2563). ผลกระทบโควิด 19 ต่อตลาดแรงงานไทย. จากhttps://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article_12Oct2020.aspx

ยิ่งลักษณ์ วัชรพล. (2564, 5 สิงหาคม). ประจำวัน. ไทยรัฐ, จาก https://www.thairath.co.th/news/foreign

ยิ่งลักษณ์ วัชรพล. (2564, 6 สิงหาคม). ข่าวประจำวัน.ไทยรัฐ, 1. จากhttps://www.thairath.co.th/news/foreign

ลัดดา ปิยเศรษฐ. (2564, 14 กันยายน). ผู้นำชุมชน. บ้านหนองกุง ตำบลภูเงิน อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. สัมภาษณ์.

วรรณี วีระกุล. (2564, 1 สิงหาคม). ผู้นำชุมชน. บ้านหนองกุง ตำบลภูเงิน อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. สัมภาษณ์.

วิโรจน์ เลิศจิตต์ธรรม. (2564, 28 พฤษภาคม). สำรวจข้อมูลสืบสวนต้นตอโควิด-19 เรารู้อะไรบ้าง และความเป็นไปได้ของทฤษฎีไวรัสระบาดจากสัตว์หรือแล็บในอู่ฮั่น. The Standard. จากhttps://thestandard.co/investigating-covid-19-source-epidemic-virus-theory-possibility

เวทิน ตละแก้ว. (2564, 21 กรกฎาคม). ผู้นำชุมชน.บ้านหนองกุง ตำบลภูเงิน อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. สัมภาษณ์.

ศูนย์ข้อมูลบริหารสถานการณ์โควิด 19. (2564, 20สิงหาคม). รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019. ค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2564, จาก https://ddc.moph.go.th/viralpneu monia/situation.php.

สมจิตน์ เพ็งพันธ์. (2564, 1 สิงหาคม). ประชาชน. บ้านหนองกุง ตำบลภูเงิน อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. สัมภาษณ์.

สมเดช ไชยคำ. (2564, 21 กรกฎาคม). กำนันตำบลพรสวรรค์. บ้านหนองกุง ตำบลนนสวรรณ์ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. สัมภาษณ์.

สำอาง บุตรใส. (2564, 25 กรกฎาคม). ประชาชน. บ้านหนองกุง ตำบลภูเงิน อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. สัมภาษณ์.

สุกานดา ธิมา. (2564, 30 สิงหาคม). ประชาชน. บ้านหนองกุง ตำบลภูเงิน อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. สัมภาษณ์.

สุดาแดน จันทร์แปลง. (2564, 15 กรกฎาคม). ประชาชน.บ้านหนองกุง ตำบลภูเงิน อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. สัมภาษณ์.

สุรชัย จารัตน์. (2564, 5 สิงหาคม). ประชาชน. บ้านหนองกุง ตำบลภูเงิน อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. สัมภาษณ์.

หนูลัย พรมมา. (2564, 21 กรกฎาคม). ประชาชน.บ้านหนองกุง ตำบลภูเงิน อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. สัมภาษณ์.

อรชร มาลาหอม. (2564, 11 สิงหาคม). ประชาชน. บ้านหนองกุง ตำบลภูเงิน อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. สัมภาษณ์.

ไพ กิตติลาภ. (2564, 21 กรกฎาคม). ประชาชน. บ้านหนองกุง ตำบลภูเงิน อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. สัมภาษณ์.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-27