ศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์คลองสระบัว จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ผู้แต่ง

  • พวัสส์ อัครพัฒน์กำชัย สาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

ศักยภาพแหล่งท่องเที่ยว, การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์, คลองสระบัว, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์คลองสระบัว จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงผสานวิธี กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย นักท่องเที่ยว ผู้นำชุมชนและภาคีเครือข่ายในชุมชน จำนวน 400 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสำรวจและแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงพรรณนา พบว่า 1) ศักยภาพด้าน การท่องเที่ยว โดยรวมอยู่ในระดับมาก (gif.latex?\bar{x}=3.98) รองลงมาคือด้านการอนุรักษ์และส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ (gif.latex?\bar{x}=4.25) 2) ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบและยั่งยืน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ (gif.latex?\bar{x}=4.09) และ 3)ด้านการบริหารจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด (gif.latex?\bar{x}=3.47) แหล่งท่องเที่ยวโบราณสถานของชุมชน คือ วัดหน้าพระเมรุ วัดกลางคลองสระบัว (หลวงพ่อทันใจ) วัดศรีโพธิ์ (โบสถ์มหาอุด) และวัดครุฑธาราม ประตูกาลเวลา

References

ชุมพล พืชพันธ์ไพศาล. (2560). การถอดองค์ความรู้วัฒนธรรมชุมชุม ภูมิปัญญาท้องถิ่นและแนวทางในการพัฒนากลุ่มชุมชนให้มีความพร้อมเพื่อการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์กรณีศึกษา : วัฒนธรรมชุมชนมุสลิม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า. 4(3).47-54.

ดารียา บินดุสะ และเอมอร อ่าวสกุล. (2561). การศึกษาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวชุมชน และธรรมชาติเพื่อพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยว อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล. ใน การประชุมวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 1. (หน้า 465). มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. สงขลา.

นภาพร จันทร์ฉาย และอัจฉราวรรณ เพ็ญวันศุกร์. (2563, มกราคม-มิถุนายน). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ จากฐานวิถีชีวิตและวัฒนธรรมท้องถิ่น. กรณีศึกษา เมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 11(1), 176-189.

ปิรันธ์ ชิณโชติ และธีระวัฒน์ จันทึก. (2559). รูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของสวนผึ้ง. Veridian E-Journal, Silpakorn University สาขามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ, 9(1), 250-268.

ปานจิตร จินหิรัญ และพีรสิทธิ์ คำนวณศิลป์. (2556). ศึกษาผลกระทบของการท่องเที่ยวต่อชุมชนชาวเกาะพะงัน. ใน การประชุมหาดใหญ่วิชาการ ครั้งที่ 4. (158-165). วันที่ 10 พฤษภาคม 2556.

วิภา ศรีระทุ. (2551). ศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศในอำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์. สารนิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Richards, G. & Raymond, C. (2010). Creative Tourism. ATLAS News, 23, 16-20.

ห้าวหาญ ทวีเส้ง, ปานแพร เชาวน์ประยูร และคณะ.(2563, มกราคม-มิถุนายน). ศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์จังหวัดสตูล. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย, 15(1), 3-16.

สำนักท่องเที่ยวโดยชุมชน องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน). คู่มือเกณฑ์มาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน. ค้นเมื่อ 21 มกราคม 2564, จาก https://opendata.data.go.th/dataset/item_db41976b-78b5-4c3d-b13d-23414de8c2b.

จิตรา จันทนาและคณะ. (2563). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวหมู่บ้านชุมชนในอำเภอโขงเจียม อำเภอโพธิ์ไทร และอำเภอเมืองในจังหวัดอุบลราธานีแบบมีส่วนร่วม. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 22(1). 183-192.

สุขุม คงดิษฐ์, ธนรัตน์ รัตนพงศ์ธระ. (2558). ภาพลักษณ์ด้านการท่องเที่ยวมรดกโลก นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาในสายตาของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.

สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ และคณะ. (2555). ท่องเที่ยวสร้างสรรค์ : เครื่องมือสำคัญนำไปสู่ชุมชนยั่งยืน. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ธรรมศาสตร์วิจัย”.

_______. (2556). การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism). กรุงเทพฯ : องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์กรมหาชน).

เปรมฤดี ทองลา. (2562). การศึกษาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวชุมชนหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมา ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2562. 299. วิทยาลัยนครราชสีมา. นครราชสีมา.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-27