การวิเคราะห์องค์ประกอบของความสามารถด้านนวัตกรรมของธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดเล็กในภาคอาหาร

ผู้แต่ง

  • ภัทรพล ชุ่มมี สาขาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

คำสำคัญ:

ความสามารถด้านนวัตกรรม, ธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก, ภาคอาหาร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของความสามารถด้านนวัตกรรมของธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กสาขาอาหาร โดยทำการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 ราย โดยใช้เครื่องมือการวิจัยคือแบบสอบถามที่ทดสอบความถูกต้องแล้ว สถิติในการวิเคราะห์กำหนดใช้ค่าเฉลี่ยและการวิเคราะห์องค์ประกอบ

หลังผลการวิจัยพบว่าดัชนีวัดความสอดคล้องมีเหมาะสมกลมกลืนดี (Chi-square=2.31, df=2, P-value=0.314, RMSEA=0.020) องค์ความรู้จากการวิจัยพัฒนาคุณภาพสินค้า ให้มีความโดดเด่น แตกต่างกันในแต่ละผู้ประกอบการ สามารถดึงดูดใจผู้บริโภคได้ และสามารถแข่งขันได้ ใช้สื่อสังคมออนไลน์ โดยผู้ประกอบการมีความจำเป็นต้องปรับตัวเข้าสู่โลกออนไลน์ และพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ต้องส่งเสริมการออกแบบและสร้างบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสม ดึงดูดผู้บริโภคและสามารถเก็บรักษาคุณภาพของสินค้าได้นาน

ข้อเสนอแนะในการวิจัยในระดับผู้ประกอบการ พัฒนาการให้บริการ พัฒนาสินค้า กำลังคนและการให้บริการ ระดับชุมชน ต้องมีการพัฒนาสินค้าให้แต่ละแห่งมีความโดดเด่นแตกต่างกันไม่เหมือนกัน โดยต้องพัฒนาสินค้าให้มีคุณภาพได้ตามมาตรฐานของสินค้าที่กำหนด และระดับนโยบาย ต้องกำหนดนโยบายส่งเสริมผู้ประกอบการให้สามารถแข่งขันกับนานาชาติได้ รวมถึงพัฒนาสินค้าให้มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น

References

วัชรพงษ์ อินทรวงศ์ และ ปัทมา สุริยกุล ณ อยุธยา (2561, พฤษภาคม-สิงหาคม). การศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุด้านภาวะผู้ประกอบการและนวัตกรรมที่มีต่อผลการดำเนินงาน. วารสารชุมชนวิจัย, 12(2), 101-116.

ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจังหวัดนครพนม. (มิถุนายน, 2564). ค้นเมื่อ 29 มิถุนายน 2564, จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php /NRRU/ article/view/164639.

เอสเอ็มอี วัน (SME one). (2564). SME สำคัญกับระบบเศรษฐกิจประเทศไทยอย่างไร. (2564, มีนาคม), ค้นเมื่อ 24 มีนาคม 2565, จาก: https://www. smeone.info/ posts/view/284.

Adams, P. et. al. (2019, April). Strategic orientation, innovation performance and the moderating influence of marketing management. Journal of Business Research, 97, 129-140.

Aujirpongpan, S. & Hareebin, Y. (2020). The Effect of Strategic Intuition, Business Analytic, Networking Capabilities and Dynamic Strategy onI nnovation Performance: The Empirical Study Thai Processed Food Exporters. Journal of Asian Finance, Economics and Business, 7(1), 259–268.

Čučković, N. & Vučković, V. (2021, January – March). THE EFFECTS OF EU R&I FUNDING ON SME INNOVATION AND BUSINESS PERFORMANCE IN NEW EU MEMBER STATES: FIRM-LEVEL EVIDENCE. ECONOMIC ANNALS, 66(228), 7-42.

Eurostat. (2021). Archive: Europe 2020 indicators - R&D and innovation. Retrieved June 26, 2021, from .https://ec.europa.eu/eurostat/statistics-explained/index.php?title= Archive:Europe _2020_indicat ors_-_R%26D_and_innovation &oldid=345979.

Global Stat. (2021). The Most Innovative Countries, Ranked by Income Group. Retrieved June 26, 2021, from https://www.visualcapitalist.com/national-innovation-the-most-innovative-countries-by-income/.

Gunday, G. et al. (2009). Effect of innovation types on firm performance. International Journal Production Economics, 133, 662–676.

Irwanti, A. et. al. (2019). The role of innovation capacity and technology adoption towards product innovation performance measurement in micro small enterprises food industry. International conference on food and bioindustry, 443, 1-17.

Rauter, Romana et. al. (2019, October–November). Open innovation and its effects on economic and sustainability innovation performance. Journal of Innovation & Knowledge, 4(4), 226-233.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-08-31