ภาวะผู้นำกับการบริหารงานเวชระเบียนในยุคดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • พีระ ดีเลิศ สาขาวิชาเวชระเบียน วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • จันจิรา ดีเลิศ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำ, งานเวชระเบียน, ยุคดิจิทัล

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้วิเคราะห์ภาวะผู้นำกับการบริหารงานเวชระเบียนในยุคดิจิทัล โดยใช้ทฤษฎีภาวะผู้นำที่ประกอบด้วยทฤษฎีคุณลักษณะภาวะผู้นำ ทฤษฎีภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรม ทฤษฎีภาวะผู้นำตามสถานการณ์ และทฤษฎีภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง มาวิเคราะห์ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัลในบริบทของการบริหารงานเวชระเบียนของสถานบริการสุขภาพในประเทศไทย จากการวิเคราะห์มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับภาวะผู้นำกับการบริหารงานเวชระเบียน ในยุคดิจิทัล โดยผู้นำในหน่วยงานเวชระเบียนในยุคดิจิทัลต้องมีความรู้ความสามารถ มีวุฒิภาวะสูง ทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีคุณธรรม จริยธรรม อีกทั้งต้องสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีภาวะผู้นำให้เหมาะสมกับสถานการณ์ มีความยืดหยุ่นและเปลี่ยนแปลงได้ตามสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมภายใต้จุดยืนของผู้นำ หากผู้นำมีคุณลักษณะของผู้นำที่ดี ผู้ตามก็จะปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจ ส่งผลให้งานมีประสิทธิภาพ ภาวะผู้นำจึงเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งต่อการบริหารงานเพื่อให้สอดรับกับนโยบายและนำพาองค์กรไปสู่ความสำเร็จในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เช่น ยุคดิจิทัล

References

กิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธิ์. (2560). โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นําเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษา. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

จันจิรา ดีเลิศ และสุวรรณา สิทธนาวิวัฒน์. (2564). ระบบบริหารทรัพยากรองค์กร: เครื่องมือสู่ความสำเร็จอุตสาหกรรมการผลิตในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 23(2), 247-256.

นพมาส เครือสุวรรณ และประเสริฐ อินทร์รักษ์. (2561). การบริหารการพัฒนางานเวชระเบียนในประเทศไทย. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยดุสิต, 14(2), 171-189.

พิชญาภา ยืนยาว. (2562). ภาวะผู้นำทางการบริหารการศึกษาและสถานศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 3). นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

พลกฤต รักจุล และคณะ. (2563). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ความผูกพัน และความตั้งใจที่จะคงอยู่ของพนักงาน: ทบทวนวรรณกรรม. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(12), 15-29.

รุ่งรัตน์ พลชัย. (2563). ภาวะผู้นำกับการบริหารในยุคดิจิทัล. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มมร วิทยาเขตอีสาน, 1(3), 53-62.

ศูนย์เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลภาครัฐ.(มปป.) Digital Transformation เปลี่ยนแปลงแนวความคิดอย่างไร?. ค้นเมื่อ 8 พฤษภาคม 2565, จาก https:// dgti.dga.or.th/digital-transformation-2/

ศิริพงษ์ กลั่นไพฑูรย์. (2564). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยนเรศวร.

สุภัทรศักดิ์ คำสามารถ และคณะ. (2563). แนวทางการบริหารการศึกษาในยุคดิจิทัลดิสรัปชั่น. Journal of Modern Learning Development, 5(3), 245-259.

สุรีรัตน์ โตขียว. (2560). รูปแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในศตวรรษที่ 21. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

แสงเทียน อยู่เถาว์. (2560). การบริหารงานเวชระเบียน. กรุงเทพฯ: แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง. ค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม 2565, จาก www.ocsc.go.th/job/standard-position.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2563). “E-Medical Record” ข้อมูลประวัติการรักษาผู้ป่วยของสถานพยาบาลหรือสถานบริการสาธารณสุขที่จัดเก็บในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์. ค้นเมื่อ 13 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.etda.or.th/th/OurService/Standard(1)/Certifications/Example-1/Electronic-list.aspx

สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2559). แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข). ค้นเมื่อ 13 พฤษภาคม 2565, จาก https://waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/2017/20171117-MinistryofPublicHealth.pdf

Fiedler, E. F. (1967). A Theory of Leadership Effectiveness. New York: McGraw-Hill.

Hersey, P. & Blanchard, K. H. (1969). Life cycle theory of leadership. Training and Development Journal, 2(1), 6-34.

Hess, T. et al. (2016). Options for Formulating a Digital Transformation Strategy. MIS Quarterly Executive (15:2), 123-139.

Hoy, K. W. & Miskel, C. G. (1991). Education Administration: Theory. Research and Practice. New York: McGraw-Hill.

Huffman, Edna K. (1990). Medical Record management (9th ed). Berwyn: Physicians Record Company.

Jantzi, D. & Leithwood, K. (1996). Toward an explanation of variation in teachers' perceptions of transformational school leadership. Educational administration quarterly, 32(4), 512-538.

Likert, R. (1967). The human organization: its management and values. New York: McGraw-Hill.

Lussier, R. N. & Achua, C. F. (2007). Leadership: Theory, Application, Skill Development (3rd ed). Ohio: Thomson Learning.

McCall, M. W. (1986). Leadership and Performance Beyond Expectations, by Bernard M. Bass (Book Review). Human Resource Management, 25(3), 481-484.

Mitchell, T. R. & Larson, J. R. (1987). People in Organizations: An Introduction to Organization Behavior (3rd ed). New York: McGraw-Hill.

Reis, J. (2018). Digital transformation: A literature review and guidelines for future research. In World CIST'18 2018, AISC 745, (pp.411–421). Chicago.

Stanfield, P. S., Cross, N. & Hui, H. (2011). Introduction to the Health professions (6th ed). California: Jones & Bartlett Publishers.

Stogdill, R. M. (1974). Handbook of leadership: A survey of theory and research. New York: Free Press.

Subbrain. (2019). Important People in Digital Era. Retrieved 2022, 6 May, from https://www.subbrain.com/marketing/important-people-in-digital-era/

Wang, Y. et al. (2018). Big data analytics: Understanding its capabilities and potential benefits for healthcare organizations. Technological forecasting & Social Change, 126. 3-13.

World Health Organization. (2006). Medical Records Manual: A guide for Developing Countries. Geneva, Switzerland: World Health Organization.

Yukl, G. A. & Becker, W. S. (2006). Effective empowerment in organizations. Organization Management Journal, 3(3), 210-231.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-08-31