ส่วนประสมทางการตลาดและการยอมรับเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคภายใต้โครงการช่วยเหลือของรัฐบาล จังหวัดนครราชสีมา

ผู้แต่ง

  • สุภารดี เชิดเพชรัตน์ สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
  • ปฏิมา ถนิมกาญจน์ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา

คำสำคัญ:

ส่วนประสมทางการตลาด, การยอมรับเทคโนโลยี, การตัดสินใจซื้อ, นโยบายภาครัฐ

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาส่วนประสมทางการตลาดและการยอมรับเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคภายใต้โครงการช่วยเหลือของรัฐบาล จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริโภคที่เคยซื้อสินค้าที่ได้รับสิทธิ์ผ่านโครงการช่วยเหลือของรัฐบาล จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 369 คน                ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงอนุมาน เพื่อทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า ส่วนประสมทางการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการส่งเสริมการตลาด และการยอมรับเทคโนโลยี ด้านการรับรู้ประโยชน์ ด้านการรับรู้ความง่ายในการใช้งานส่งผลเชิงบวกต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคภายใต้โครงการช่วยเหลือของรัฐบาล จังหวัดนครราชสีมา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

References

กานต์ ภักดีสุข. (2561). ปัจจัยด้านทัศนคติ ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาด และการยอมรับเทคโนโลยีมีผลต่อการตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของประชาชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ชนิกานต์ พนมอุปถัมภ์. (2563). ปัจจัยส่วนประสมการตลาดและสื่อสังคมออนไลน์ที่มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้ออุปกรณ์ชิ้นส่วนและอะไหล่รถจักรยานยนต์. วารสารเกษมบัณฑิต, 21, 1. 103-115.

ณัฐรัตน์ สุขใย. (2560). การศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลการยอมรับเทคโนโลยี และวัฒนธรรมองค์กรที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการทำงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) สังกัดกลุ่มเครือข่ายภาคกลาง. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ธมนธรณ์ บุญเรือง. (2561). ความไว้วางใจ ส่วนประสมทางการตลาด การยอมรับเทคโนโลยี ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อคอนแทคเลนส์ผ่านทางออนไลน์. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน. (2551). การประยุกต์ใช้ SPSS วิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กาฬสินธุ์ : ประสานการพิมพ์

บุญใจ ศรีสถิตนรากูร. (2553). ระเบียบการวิจัย: แนวทางการปฏิบัติสู่ความสำเร็จ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ยู แอนด์ ไอ อินเตอร์มีเดีย.

ประพล เปรมทองสุข. (2559). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อโฟมล้างหน้าแบบโคลนของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพฯ. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 9(3), 1906-3431.

ผ่องศรี เกียรติเลิศนภา. (2553). การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวิจัย. ชลบุรี: วิทยาลัยพานิชยศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา.

พรสุดา นาถาบำรุง และคณะ. (2563). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด 4P’s ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสมาร์ทโฟนของผู้บริโภคในเขตมีนบุรี. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง, 9(3), 179-190.

ภาวินีย์ หิ่งห้อย. (2559). การยอมรับเทคโนโลยี Facebook Live และความน่าเชื่อถือของเจ้าของ Page ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าบน Facebook. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

รัตนศักดิ์ พลากรฉัตรคุปต์. (2561). ปัจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยีที่มีผลต่อการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคผ่านช่องทางออนไลน์. สารนิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล.

รัตนา โพธิวรรณ์. (2561). การใช้ปัจจัยส่วนประสมการตลาดในการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นของผู้บริโภคในเขตจตุจักรกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

วรรณิกา จิตตินรากร. (2559). การยอมรับเทคโนโลยีและพฤติกรรมผู้บริโภคออนไลน์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าจากบริษัทขายตรงผ่านช่องทางออนไลน์. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. (2563, 19 มิถุนายน). เราไม่ทิ้งกัน “เราชนะ” มาตรการเยียวยา. ค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2564, จาก https://www. thairath.co.th/news/business/1871884.

สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2563, 1 ตุลาคม). รายงานสถานการณ์ SME. ค้นเมื่อ 21 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.sme.go.th.

หยาดทิพย์ โพธิหลักทรัพย์ และวัชระ ยี่สุนเทศ. (2563). กระบวนการการตัดสินใจซื้อผ้าม่านประหยัดพลังงาน PASAYA. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์, 12(3), 2-9.

อัมพุช พวงไม้. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารคลีนในกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

อรอนงค์ ทองกระจ่าง. (2560). การศึกษาส่วนประสมทางการตลาด การยอมรับเทคโนโลยีและการสื่อสารแบบบอกต่อที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านทางแอปพลิเคชัน Shopee. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

โอภาส คำวิชัย. (2563). การยอมรับเทคโนโลยีและปัจจัยด้านภาพลักษณ์ตราสินค้าที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อการ์ดจอของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

Abu Bakar, M. S. and Bidin, R. (2014). Technology Acceptance and Purchase Intention towards Movie Mobile Advertising among Youth in Malaysia. Procedia- Social and Behavioral Sciences, 130, 558-567.

Asdi, A. and Putra, A. H. P. K. (2020, Novembre). The Effect of Marketing Mix (4P) on Buying Decision: Empirical Study on Brand of Samsung Smartphone Product. Point of View Research Management, 1(4),121 - 130.

Chu, A.Z-C. and Chu, R.J-C. (2011). The intranet’s role in newcomer socialization in hotel industry in Taiwan-technology acceptance model analysis. The International Journal of Human Resource Management, 22(5), 1163-1179.

Cochran, W.G. (1977). Sampling Techniques. (3rd ed.). New York: John Wiley and Sons. Davis, F.D. (1989). Perceived usefulness, perceived ease of use, and user acceptance of information technology. MIS quarterly, 13(3), 319-340.

Hossain, A., and Khan, M. Y. H. (2018). Green Marketing Mix Effect on Consumers Buying Decisions in Bangladesh. Marketing and Management of Innovations, 4, 298- 306. Retrieved form http://doi.org/10.21272/mmi2018.4-25.

Kotler, P. (2003). Marketing management. (11th ed.). New Jersey: Prentice-Hall.

Kotler, P. and Keller, K. L. (2012). Marketing Management. (14th ed). New Jersey: Prentice-Hall. Abdelhady, M., Fawzy, N. and Fayed, H. (2019).

The Influence of Airlines’ Marketing Mix Elements on Passengers’ Purchasing DecisionMaking: The Case of FSCs and. International Journal of Hospitality & Tourism Systems, 12, 1-16.

Rovinelli, R. J. (1997). On the Use of Content Specialists in the Assessment of Criterion Referenced Test Item Validity. Dutch Journal of Education Research, 49-60.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-28