Non Fungible Token (NFT) สินทรัพย์ดิจิทัลสร้างรายได้

ผู้แต่ง

  • สิริพร อินทสนธิ์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
  • สวิตา อยู่สุขขี สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

NFT, บล็อกเชน, คลิปโตเคอเรนซี่, สินทรัพย์ดิจิทัล

บทคัดย่อ

บทความนี้ผู้เขียนมีวัตถุประสงค์เพื่อกล่าวถึง NFT ซึ่งเป็นสินทรัพย์ดิจิทัลที่สามารถสร้างรายได้โดยตรงให้กับศิลปิน และบุคคลทั่วไป จุดเด่นของสินทรัพย์ประเภทนี้คือ เป็นสินทรัพย์ที่ไม่ซ้ำกับใครในโลกดิจิทัล เป็นสินทรัพย์ดิจิทัลที่มีเพียงชิ้นเดียว ไม่สามารถทำซ้ำหรือคัดลอกได้ ต่อให้มีการคัดลอกไปแต่ต้นฉบับของจริงจะมีอยู่เพียงหนึ่งเดียวเท่านั้น NFT สามารถซื้อขายได้เหมือนกับทรัพย์สินอื่น ๆ แต่ไม่มีรูปแบบที่จับต้องได้ ส่วนโทเคน NFT ก็เปรียบได้กับโฉนดที่แสดงความเป็นเจ้าของผลงาน  การซื้อขาย NFT จะสามารถตรวจสอบความเคลื่อนไหวการแลกเปลี่ยน หรือการซื้อขายได้ทุกรายการ ซึ่งในการซื้อชายจะทำธุรกรรมผ่านระบบที่เรียกว่าบล็อกเชน และสามารถนำไฟล์ดิจิทัลไม่ว่าจะเป็นภาพ วีดิโอ เพลง การ์ดสะสม หรือแม้แต่งานศิลปะ เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสินทรัพย์นั้นขึ้นมาได้  โดยการสร้างประสบการณ์ใหม่ ๆ ในการทำกิจกรรม สามารถสร้างรายได้จากการสร้างเรื่องราว หรือทำให้สินค้านั้นมีเรื่องราว  และนำมาใช้กับงานด้านศิลปะ และเกมส์เป็นจำนวนมาก อีกทั้งใช้ในยูทูปเบอร์ และสตรีมเมอร์  ซึ่ง NFT ทำให้ ผู้ซื้อและผู้ขายสามารถทำธุรกรรมกันได้โดยตรง ซื้อขายผลงานได้อย่างอิสระมากขึ้นบนโลกอินเทอร์เน็ตที่สามารถเกิดการแลกเปลี่ยนกันได้ง่ายไม่มีข้อจำกัดของระยะทางและเวลาเพียงมีเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งการซื้อขายจะทำผ่าน Cryptocurrency Wallet ทั้งยังเป็นทางเลือกใหม่ในการลงทุนหากำไรในโลกดิจิทัล

References

Knownorigin. (2564). เว็บไซต์งานด้านศิลปะของ ตลาด NFT. ค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2564, จาก https://knownorigin.io

nifty Gateway. (2564). เว็บไซต์งานด้านศิลปะของตลาด NFT. ค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2564, จากhttps://niftygateway.com/

binance.com. (2564). เว็บไซต์งานด้านศิลปะของ ตลาด NFT. ค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2564, จากhttps://www.binance.com/en/nft/home

foundation. (2564). เว็บไซต์งานด้านศิลปะของ ตลาด NFT. ค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2564, จากhttps://foundation.app/

MakersPlace. (2564). เว็บไซต์งานด้านศิลปะของ ตลาด NFT. ค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2564, จาก https://makersplace.com/

mintable. (2564). เว็บไซต์งานด้านศิลปะของ ตลาด NFT. ค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2564, จากhttps://mintable.app/

ศิลปะในเมืองไทย. (2563). แนะนำเว็บไซต์ขายภาพ NFT ART ที่ได้รับความนิยมจากศิลปินทั่วโลก ปี 2021. ค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2564, จาก https:// www.thaiartnews.com/about-us/

สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (2564). NFT FEVER เกิดอะไรขึ้นเมื่อคลิปโตบุกโลกงานสร้างสรรค์. ค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2564, จาก https://www.nia.or.th/NFTArtMusicGame

superrare. (2564). เว็บไซต์งานด้านศิลปะของ ตลาด NFT. ค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2564, จากhttps://superrare.com/

async. (2564). เว็บไซต์งานด้านศิลปะของ ตลาด NFT. ค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2564, จากhttps://async.art/

opensea. (2564). ผลงานยันต์ Metaverse. ค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2564, จาก https://openseaio/rmr_tx?fbclid=IwAR3ZUDbzHnviBAiHCP1ioODA0hjCfFYP7SN_tZ-ef9sNjdotEWICx-ehMQ

Ante, L. (2021). The non-fungible token (NFT) market and its relationship with Bitcoin and Ethereum. BRL Working Paper Series, (20), 1-9.

Ahram, T., Sargolzaei, A., Sargolzaei, S., Daniels, J. and Amaba, B. (2017). Blockchain technology innovations. IEEE Technology & Engineering Management Conference (TEMSCON). doi:10.1109/TEMSCON.2017.7998367

Beck, R. and Muller-Bloch, C. (2017). Blockchain as Radical Innovation: A Framework for Engaging with Distributed Ledgers as Incumbent Organization. In Proceedings of the 50th Hawaii International Conference on System Sciences (pp. 5390–5399).

Ferretti, S. and G, Dangelo. (2019). On the Ethereum Blockchain Structure: a Complex Networks Theory Perspective. University of Bologna, Italy.

Nadini, M., Alessandretti, L., DiGiacinto, F., Martino, M., Aiello, L. and Baronchelli, A. (2021). Mapping the NFT revolution: market trends, trade networks, and visual features. from https://www.nature.com/articles/s41598-021-00053-8.pdf

Swan, M. (2015). Blockchain: Blueprint for a New Economy. O'Reilly Media.

Narayanan, A., Bonneau, J., Felten, E., Miller, A. and Goldfeder, S. (2016). Bitcoin and Cryptocurrency Technologies: A Comprehensive Introduction. Princeton University Press.

Satoshi Nakamoto. (2551). Bitcoin: A Peer-to-Peer Electronic Cash System. from https://bitcoin.org/bitcoin.pdf

Wang, Q., Li, R., Wang, Q. and Chen, S. (2021). Non-Fungible Token (NFT): Overview, Evaluation, Opportunities and Challenges. from https://arxiv.org/pdf/2105.07447.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-28