การตลาดดิจิทัลกับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ

ผู้แต่ง

  • บุษบา อู่อรุณ สาขาวิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
  • ปรีชา คำมาดี สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • ชาคริต ศรีทอง สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • ภัทรพล ชุมมี สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์

คำสำคัญ:

การตลาดดิจิทัล, การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ, ผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

บทความวิชาการเรื่อง “การตลาดดิจิทัลกับการท่องเที่ยวเชิงสุภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ” มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เห็นถึงความสำคัญของการตลาดดิจิทัลและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุเพื่อค้นหากลยุทธ์การตลาดที่เหมาะสมให้กับธุรกิจในประเทศไทย โดยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน พบว่าจำนวนนักท่องเที่ยวทั้งคนไทยและชาวต่างชาติมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการคาดการณ์ของแนวโน้มสถานการณ์การท่องเที่ยวทั่วโลกในปี ค.ศ. 2030 ว่าจำนวนนักท่องเที่ยวโลกจะเพิ่มเป็น 1,809 ล้านคน ในจำนวนที่กล่าวมาพบว่า มีนักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นและยังพบว่าในกลุ่มผู้สูงอายุมีการเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์มากขึ้นจนกลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวัน ดังนั้น บทความนี้จึงเป็นการนำเสนอแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการตลาดดิจิทัลกับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นการทบทวนวรรณกรรม งานวิจัย บทความ ข่าวสารซึ่งมีทั้งความหมาย ความสำคัญ พบว่าการตลาดดิจิทัลมีอิทธิพลต่อกลยุทธ์ นวัตกรรม และผลการดำเนินงานขององค์กร

References

กฤษติญา มูลศรี. (2562). นวัตกรรมและการตลาดดิจิทัลที่ส่งผลต่อการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย. MFU Connexion, 8(2), 36-62.

การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ. (2562). แรงจูงใจหลัก 3 ประการในการท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพ. ค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2562, จาก http://www.sms stou.org/archives/2233

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2561). ธุรกิจโลกและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพอาเซียน. ค้นเมื่อ 27 กันยายน 2562, จาก https://millionaire-academy.com/ท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ.

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2562). การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ. ม.ป.ท.

กระทรวงสาธารณสุข กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2562). ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (MEDICAL HUB) (พ.ศ. 2560-2569). ค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2562, จากhttps://www.thailandmedicalhub.net.

กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. (2562). สูงวัยหัวใจติดเน็ต. ค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2562, จาก https://www.bangkokbiznews.com/business/854410.

Digital Marketing คืออะไร. (2563). ค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2564, จาก https://www.advancedis.co.th/en/blog/digital-marketing.

บุษบา อู่อรุณ.ภัทรพล ชุ่มมี และปรีชา คำมาดี. (2563, มกราคม-มิถุนายน). กลยุทธ์การสร้างประสบการณ์ให้กับลูกค้าของธุรกิจโรงแรมระดับ 4-5 ดาว ในภาคกลางและภาคตะวันออกของประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 23(1), 91-100.

บุษบา อู่อรุณ. (2561, มิถุนายน-ธันวาคม). กลยุทธการตลาดที่มีผลตอความพึงพอใจของนักทองเที่ยวชาวจีนที่ใช้บริการท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพในประเทศไทย. วารสารเซาธ์อีสท์บางกอก, 4(2), 46-64.

ปราโมทย์ ยอดแก้ว. (2021). การตลาดดิจิทัลกับการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตใหม่ในสังคมไทย.วารสารสังคมและพัฒนา, 3(1), 11-22.

แผนแม่บทยุทธศาสตร์ชาติ การท่องเที่ยว. (2564). ค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2564, จาก http://nscr.nesdb.go.th/wp-content/uploads/2021/01/06_NS_05.

Marketer online. (2020). Wellness Tourism โอกาสของธุรกิจท่องเที่ยว. สืบค้น เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2564, จาก https://marketeeronline.co/archives/21776.

บทบาทไทยในฐานะผู้นำอาเซียน กับการยกระดับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว เชิงสุขภาพ. (2562). จัดการออนไลน์. ค้นเมื่อ 6 พฤศจิกายน 2562, จาก https://mgronline.com/mes/de

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2562). การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Medical-tourism) ขยายตัวต่อเนื่องในปี 2561. ค้นเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://www.kasikornbank.com/th/personal

Aaker, D. (2016). The Four Faces of Digital Marketing. Retrieved from https://www.ama.org/publications/MarketingNews/Pages/the-four-faces-ofdigital-marketing.aspx

Carisson, C. and Walden, P. (2016). Digital Wellness Services for Young Elderly- a Missed Opportunity for Mobile Services. Journal of Theoretical and Applied Electronic Commerce Research11, (3), 20-34.

Dimon, A. (2017). How Millennial are Disrupting the wellness travel market. Retrieved from http://www.travelmarketreport.com/articles/How-Millennials-are-Disrupting-theWellness-Travel-Market.

Global Wellness Institute. (2018, November). Global Wellness Tourism Economy. n.p.

Mueller,H. and Kaufmann, E.L. (2001). Wellness Tourism: Market Analysis of A Special Health Tourism Segment and Implications for Hotel Industry. Journal of Vacation Marketing, 7(1), 5-17.

World Tourism Organization “UNWTO Tourism Highlights. (2016). Editions “Madrid

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-28