แรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน
คำสำคัญ:
แรงจูงใจ, ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ผลงานวิชาการในประเด็นแรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน โดยศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร บทความวิจัย บทความวิชาการ เอกสาร ตําราที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยแรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน โดยเน้นถึงทฤษฎีแรงจูงใจในการทํางาน เพื่อเป็นตัวกําหนดมาตรการต่าง ๆ ผลการศึกษาพบว่า องค์กรดําเนินกิจการได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงและมุ่งต่อความสําเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ โดยใช้ทฤษฎีแรงจูงใจที่มีชื่อเสียง คือ ทฤษฎีสององค์ประกอบ (Two Factors Theory) เป็นแนวคิดของ (Herzberg, et al.,1959) ได้เสนอไว้ว่าบุคลากรในองค์กรการทํางานมีประสิทธิภาพสูงนั้นมีแรงจูงใจด้านใดที่จะช่วยเสริมแรงในการทํางานให้สูงขึ้น ซึ่งทฤษฎี 2 ปัจจัย ประกอบด้วย 1) ปัจจัยจูงใจ (Motivation) หรือปัจจัยภายในที่เป็นตัวกระตุ้นให้ประสบความสําเร็จในการทํางาน และ 2) ปัจจัยค้ําจุน (Hygiene Factors) หรือปัจจัยอนามัยที่ช่วยลดความไม่พึงพอใจในการทํางาน ส่งเสริมให้เกิดความพอใจในการทํางาน ในประเด็นขององค์ประกอบประสิทธิภาพการปฏิบัติงานเน้นถึง ทฤษฎีของ Peterson & Plowman (1989) ประกอบด้วย 1) คุณภาพของงาน 2) ปริมาณของงาน 3) เวลาในการปฏิบัติงาน
4) กระบวนการปฏิบัติงาน 5) ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานในการปฏิบัติงานไม่ว่าจะเป็นองค์กรใด ๆ จําเป็นต้องมีแนวในการพัฒนาประสิทธิภาพของบุคลากร และประสิทธิภาพขององค์กร เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผล
References
กมลพร กัลยาณมิตร. (2552). ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี.
กมลพร กัลยาณมิตร. (2559). แรงจูงใจ 2 ปัจจัย พลังสู่ความสำเร็จ. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี, 6(3), 175-183.
กฤษดา เชียรวัฒนสุข และคณะ. (2560). แรงจูงใจที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงาน กรณีศึกษา บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่แจ้งวัฒนะ. วารสารมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์, 3(2), 29-43.
กันตยา เพิ่มผล. (2547). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. กรุงเทพฯ: เทียนวัฒนา.
กิตติวัฒน์ ถมยา. (2553). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร ฝ่ายกลยุทธ์และวางแผน สายออกบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ไพบูลย์ ตั้งใจ. (2554). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน ตามหลักอิทธิบาท 4 กรณีศึกษา บริษัท แอมพาส อินดัสตรี จำกัด จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรราชวิทยาลัย.
เกตุแก้ว พันชั่ง และ ราเชนทร์ นพณัฐวงศกร. (2563). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.). วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์, 20(1), 119-128.
ฆฬิสา สุธดาอนันตโภคิน และ ภมร ขันธะหัตถ์. (2564). ปัจจัยจูงใจและปัจจัยค้ำจุนที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารอาคารสงเคราะห์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 13(1), 23-38.
จักรี ศรีจารุเมธีญาณ และ สุรศักดิ์ อุดเมืองเพีย. (2563). แรงจูงใจในการทำงาน: ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน, 5(1), 425-436.
ชวิศา พิศาลวัชรินทร์ และ กษมา สุวรรณรักษ์ (2563). การศึกษาแรงจูงใจของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในการเรียนภาษาอังกฤษที่โรงเรียนกวดวิชา. วารสารสุทธิปริทัศน์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 32(2), 90-102.
ชัยวุฒิ เทโพธิ์. (2563). ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 11(1), 135-150.
ณัฏฐ์พัชร์ ลาภบำรุงวงศ์. (2562). การประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 9(2), 161-171.
ธิริญญา เพ็ญญะ และ ไชยา ยิ้มวิไล. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในส่วนการศึกษา โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า จังหวัดนครนายก. วารสารสหวิทยาการวิจัย, 8(2), 153-161.
ธีรพันธ์ ลมูลศิลป์ และวัชระ ยี่สุ่นเทศ. (2562). แรงจูงใจที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายผลิตโรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันดพล, 5(1), 76-84.
นลพรรณ บุญฤทธิ์. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี. งานนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการสาธารณะ, มหาวิทยาลัยบูรพา.
ประเวศน์ มหารัตน์. (2543). การบริหารทรัพยากรมนุษย์แนวทางใหม่. กรุงเทพฯ: ส.ส.ท.
ปัญญาพร ฐิติพงศ์. (2558). แรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรในบริษัทก่อสร้าง: กรณีศึกษาบริษัทอินเตอร์ เอ็กซ์เพิร์ท คอนสตรัคชั่น จำกัด. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พีรญา ชื่นวงศ์. (2560). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน: กรณีศึกษา ธุรกิจการขนส่งในจังหวัดเชียงราย. วารสารเศรษฐศาสตร์และกลยุทธ์การจัดการ, 4(2), 92-100.
ภัทรนันท์ ศิริไทย. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานของบุคลากรวิทยาลัยชุมชนสระแก้ว. วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง, 5(1), 157-197.
รจนพรรณ อมรรุจิโรจน์. (2551). การวัดประสิทธิภาพการทำงานของพนักงาน IT สถาบันการเงินแห่งหนึ่ง โดยวิธี Data Envelopment Analysis. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่น.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ:
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2539). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น.
สมบัติ อาริยาศาล (2561). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสถานศึกษา. Journal of Roi Kaensarn Academic, 3(2), 33-46.
สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2544). ทฤษฎีองค์กรประสิทธิภาพ. ใน นิเทศ ตินณะกุล (บ.ก.). รวมบทความสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา. (หน้า 108-125). กรุงเทพฯ: ภาควิชาสังคมวิทยา มานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุพจน์ นาคสวัสดิ์. (2559). หนังสือการสำรวจความผูกพันในการทำงานของพนักงาน แนวคิด ทฤษฎี และแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: เอช อาร์ เซ็นเตอร์.
สุรเจต ไชยพันธ์พงษ์. (2563). แรงจูงใจที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัดพะเยา. วารสารวิชาการสิรินธรปริทรรศน์, 21(2), 340-354.
อรุโณทัย จันทวงษ์ และ ประสพชัย พสนนท์. (2561). ปัจจัยแจงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานขายในธุรกิจค้าปลีกสินค้าปลอดอากรของไทย. วารสารการจัดการธุรกิจ, 7(1), 83-99.
อัครเดช ไม้จันทร์. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานกลุ่มอุตสาหกรรมติดตั้งเครื่องจักรสายการผลิตในจังหวัดสงขลา. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
อุทัย กนกวุฒิพงศ์. (2547). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความพึงพอใจในการรับบริการแบบศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จของประชาชนที่มาใช้บริการ ณ สำนักงานเขตยานนาวากรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
อุทัสน์ วิระศักดิ์การุณย์. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความต้องการในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานตํารวจและกระบวนการยตุติธรรม, มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.
Davis, K. (1981). Human Behavior at Work, Organization Behavior. New York: McGraw-Hill.
Herzberg, F. et al. (1959). The Motivation of work. New York: John Wiley & Sons.
Herbert, H. G. (1972). The Management of Organization: A Systems and Human Resources Approach. (12th ed.). New York: Appletion-Century-Crofts.
Loudon, D. L. and Bitta, D. A. J. (1988). Consummer Behavior: Concept and Applications. (3rd ed). New York: McGraw-Hill.
Luthans, F. (1989). Organizational behavior. New York: McGraw-Hill.
Mowen, J. and Minor, M. (1998). Consumer Behavior. New York: Prentice Hall.
Peterson, E. and Plowman, E.G. (1989). Business organization and management. Homewood, llinois: Richard D. Irwin.
Pinder, C. (1998). Work Motivation in Organizational Behavior. Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.
Schermerhorn, J. R., Hunt, J. and Osborn, R. N. (2002). Organizational Behavior. (7th ed.). New York: John Wiley & Sons.
Strauss, G. (1968). Human relations—1968 style. Industrial Relations: A Journal of Economy and Society, 7(3), 262-276. doi: 10.1111/j.1468-232X.1968.tb01080.x
Vroom, V. H. (1964). Work and motivation. New York: John Wiley & Sons.
Walter, K. (1978). The Working Class in Welfare Capitalism. London: Routledge & Kegan Paul.