โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า-2019 (COVID-19) กับโอกาสในการปรับตัวทางเศรษฐกิจ ของอุตสาหกรรมโรงแรมของประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • กวินภพ สายเพ็ชร์ หลักสูตรการจัดการธุรกิจโรงแรม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

โรคไวรัสโคโรน่า-2019, โอกาสในการปรับตัวทางเศรษฐกิจ, อุตสาหกรรมโรงแรมของประเทศไทย

บทคัดย่อ

วิกฤตโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ได้กระตุ้นให้เกิดความจำเป็นเร่งด่วนในการปรับเปลี่ยนการดำเนินงานและยกระดับหลาย ๆ เงื่อนไขที่ไม่ใช่เฉพาะเพียงด้านราคาในการบริการเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องถึงความสามารถในธุรกิจการที่มีแนวโน้มลดลงตามอุปสงค์ของผู้บริโภค และก่อให้เกิดการค้นพบกระบวนการสร้างสมดุลทางเศรษฐกิจของธุรกิจโรงแรมในต่างประเทศจากการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) นั้น มีการวิจัยถึงผลกระทบของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ต่อการตลาดและการจัดการโรงแรม โดยวางแผนกระบวนการสร้างสมดุลทางเศรษฐกิจด้วยปัจจัยด้านสามมิติ การใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) และการใช้หุ่นยนต์ทุ่นแรง นอกจากนี้อุตสาหกรรมโรงแรมยังปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ตามหลักการวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายทางการตลาด (STP) โดยหันมามุ่งเป้าหมายในตลาดความงามและการดูแลสุขภาพ (Wellness) ในประเทศไทยยังนับว่ามีความต้องการของผู้บริโภคจำนวนมากอยู่ และยังผู้ผลิตมีจำนวนน้อย รวมไปถึงการปรับตัวโดยใช้ระบบดิจิทัลเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในงานบริการ               เพื่อลดการสัมผัสระหว่างลูกค้ากับพนักงานให้บริการ

References

กรมควบคุมโรค. (2563). รายงานสถานการณ์โรคโควิด-19 ทั่วโลก. จาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/index.php

กระทรวงสาธารณสุข. (2563). แนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขเพื่อการจัดการภาวะระบาดของโรคโควิด-19 ในข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 1). กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

การปรับตัวขายอาหารของโรงแรมลายทอง. (2563). ค้นเมื่อ 12 กันยายน 2563, จาก https://ibusiness.co/detail/9630000036

เกริกยศ ชลายนเดช. (2562). การนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: โรงพยาบาลยันฮี.

จอมขวัญ อุทัยรักษา. (ม.ป.ป.). Blue Ocean Strategy vs Red Ocean Strategic. จาก http://utcc2.utcc.ac.th/localuser/brandthaicenter

ชเนตตี พุ่มพฤกษ์ และนฤมล อนุสนธิ์พัฒน์. (2563, มกราคม – มิถุนายน). ศักยภาพและความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 22(1), 138.

ชาตรี บัวคล. (2557, มกราคม – เมษายน). การประยุกต์ใช้แนวคิดของ Dr. Edward de Bono เพื่อการออกแบบสิ่งพิมพ์ให้น่าสนใจ. Veridian E-Journal, 7(1).

ณัฐพล อัสสะรัตน์. (2562). สรุปเนื้อหาจากงานสัมมนา หัวข้อ The Future Trend of Aging Society 2021-22. ณ ออดิทอเรียม หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร, กรุงเทพฯ.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2563ก). ทิศทางเศรษฐกิจไทยปี 2563 ชะลอตัวต่ำกว่าที่คาดและต่ำกว่าศักยภาพ. BOT MAGAZINE. จาก https://www.bot.or.th/Thai/BOTMagazine/Pages/256301CoverStory.aspx

_______. (2563ข). ผลการประชุมคณะกรรมการ นโยบายการเงิน ครั้งที่ 4/2563. กรุงเทพฯ : ผู้แต่ง.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2563ค). เศรษฐกิจโลกเศรษฐกิจไทยหลังโควิด ฉบับที่ 3 พฤษภาคม – มิถุนายน 2563. กรุงเทพฯ : พระสยามแม็กกาซีน.

ธนิต จึงดำรงกิจ และศรีดารา ติเพียร. (2563). ร้านนวด-สปาไทย ยุค New Normal กับแนวคิดดีไซน์ใหม่เพื่อความปลอดภัยเพิ่มความมั่นใจของผู้ใช้บริการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ธีรศานต์ สหัสสพาศน์ และประกาย ธีระวัฒนากุล. (2563). คอลัมน์คิดอนาคต: โอกาสของธุรกิจโรงแรมหลังวิกฤต COVID-19. กรุงเทพธุรกิจ, จาก https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/650027

นุชนาถ คุณความดี. (2562). Wellness Tech…ตลาดใหญ่ที่น่าสนใจสำหรับสตาร์ทอัพ (ไทย). กรุงเทพฯ: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. (2563). เปิดโมเดลร้านนวด-สปายุคใหม่. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.

มหศักดิ์ เกตุฉ่ำ. (2563). Internet of Things (IoT). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

มัทยา ศรีพนา. (2562). สถานการณ์สังคมไร้เงินสดของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.

โรงแรมเอเชีย กรุงเทพมหานคร เปิดบริการขายข้าวกล่องเมนูหลากหลายเมนู ราคา 80 บาทพร้อมบริการรับส่งอาหาร (Delivery) ผ่าน Lineman. (2563). ค้นเมื่อ12 กันยายน 2563, จาก https://positioningmag.com/1272864

ศิรศักย เทพจิต. (2563). COVID-19 Pandemic : การตอบสนองเชิงนโยบายสาธารณะในการรับมือกับปัญหาพยศ, จาก

http://www.setthasarn.econ.tu.ac.th/blog/detail/59/

สำนักงานคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า. (2563). เปิดพฤติกรรมการแข่งขันในธุรกิจบริการส่งอาหารที่อาจผิดกฎหมายการแข่งขันทางการค้า. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

อายุธพร บูรณะกุล. (2563). ไนท์แฟรงค์เผยโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อภาคตลาดอสังหาริมทรัพย์ทั่วโลก. จาก https://thailand-property-news.knightfrank.co.th/2020/05/2

Ason, A. (2020). Scenarios for Asian long-term LNG contracts before and after COVID-19. UK: University of Oxford.

Bonaccorsi, G. et al. (2020, July). Economic and social consequences of human mobility restrictions under COVID-19. Proceedings of the National Academy of Sciences, 2020, 117 (27). 15530-15535, from DOI: 10.1073/pnas.2007658117

Guvene, O. (2020). Balneotherapy in the era of COVID-19 : should it be recommended or not. International Journal of Biometeorology. Retrieved from https://link.springer.com/article/10.1007%2Fs00484-020-01943-8

Han, T. (2020). Outbreak investigation: transmission of COVID-19 started from a spa facility in a local community in Korea. Epidemiol health, 42, Retrieved from https://doi.org/10.4178/epih.e2020056

Hao, F., Xiao, Q. and Chon, K. (2020, September). COVID-19 and China's hotel industry: impacts, a disaster management framework, and post-pandemic agenda. International journal of hospitality management, 90, from doi: 10.1016/j.ijhm.2020.102636.

Hartman, G. and Nickerson, N.P. (2020). COVID-19 impacts on tourism-related businesses: Thoughts and concerns. Montana: University of Montana.

Jiang, Y. and Wen, J. (2020). Effects of COVID-19 on hotel marketing and management: a perspective article. International journal of contemporary hospitality management, 32(8), p.2563-2573.

Khanna, P.P., Ganguly, S., Mukherjee, M. and Mukherjee, S. (2020). Hospitality and Tourism Industry: Post Pandemic Challenges and Opportunities. India: Bharti Publications.

Maher, C. S., Hoang, T. and Hindery, A. (2020). Fiscal responses to COVID-19: Evidence from local governments and nonprofits. Public administration review. from https://doi.org/10.1111/puar.13238

Montemurro, P., Hedén, P., Adams, W. P., Vita, R. de and Pellegatta, T. (2020, June). Effects of COVID-19 on plastic surgery practices and Medi-Spas in different countries. Aesthetic surgery journal, 40(8), N453–N456, from https://doi.org/10.1093/asj/sjaa104.

Muobuikwu, C. (2020). An appraisal of the business interruption insurance coverage in nigeria in the face of the recent COVID-19 pandemic. from https://papers.ssrn.com/sol3/papers.cfm?abstract_id=3677248

Özatay, F. and Sak, G. (2020). What if the Covid-19 outbreak lasts more than one quarter. Economic policy research foundation of Turkey. from https://www.tepav.org.tr/upload/files/1589717743-5.What_if_the_COVID_19_outbreak_lasts_more_than_one_quarter.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-30