กระบวนการสื่อสารประเด็นสาธารณะของสำนักข่าวอิสระ ตามแนวคิดวารสารศาสตร์เชิงข้อมูล
Main Article Content
บทคัดย่อ
วารสารศาสตร์เชิงข้อมูลเป็นแนวคิดและทักษะรายงานข่าวซึ่งเป็นที่นิยมในสังคมตะวันตก
และแพร่กระจายเข้ามาในแวดวงสื่อไทย เพื่อเปิดโอกาสให้สื่อสามารถเข้าถึง นำข้อมูลดิจิทัลจากภาครัฐ
และเอกชนมารายงานข่าวโดยใช้ตัวข้อมูลเป็นแกนหลัก งานวิจัยจึงมุ่งศึกษากระบวนการสื่อสารประเด็นสาธารณะ และกระบวนการรายงานข่าวด้วยวารสารศาสตร์เชิงข้อมูลของสำนักข่าวอิสระของไทย จำนวน 5 แห่ง ศึกษาโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา การสังเกตการณ์ และการสัมภาษณ์เชิงลึก ในระหว่างเดือนมกราคม 2561 – พฤษภาคม 2562 พบว่า การรายงานข่าวแบบวารสารศาสตร์เชิงข้อมูล ถูกนำมาใช้เพื่อเสริม
การรายงานข่าวเชิงลึก ตีความตามประเด็นที่เป็นวาระของสื่อ มากกว่าวาระสาธารณะหรือวาระทางนโยบาย
สรุปได้ว่า การนำแนวคิดวารสารศาสตร์เชิงข้อมูลของสื่ออิสระจัดอยู่ในระยะเริ่มต้น ไม่ได้พร้อมสมบูรณ์
เช่นในตะวันตก ด้วยข้อจำกัดของกำลังคน งบประมาณ การเข้าไม่ถึงข้อมูลภาครัฐและเอกชน ฉะนั้นสาธารณชนควรร่วมกันผลักดันให้เกิดสังคมที่เปิดเผยข้อมูล สื่ออิสระควรเชื่อมโยงการทำงานด้านข้อมูลระหว่างกัน เพื่อคงหลักประกันสิทธิที่จะรู้ของพลเมืองไทยในยุคดิจิทัล
Article Details
ลิขสิทธ์ที่ผู้เขียนบทความต้องยอมรับ
References
กาญจนา แก้วเทพ. (2541). การวิเคราะห์สื่อ: แนวคิดและเทคนิค. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
กาญจนา แก้วเทพ. (2543). สื่อสารมวลชน: ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: อินฟินิตีเพลส.
กาญจนา แก้วเทพ. (2555). สัญญะ อัตลักษณ์ อุดมการณ์. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
ชนิดา รอดหยู่. (2552). การเสนอวาระสาธารณะขององค์กรภาคประชาสังคม กรณีการบังคับใช้สิทธิ
ตามสิทธิบัตรกับผลิตภัณฑ์ยา และการกำหนดกรอบข่าวสารของหนังสือพิมพ์ (วิทยานิพนธ์
นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะนิเทศศาสตร์, ภาควิชาวารสารสนเทศ.
เชอร์กี เคลย์. (2554). พลังกลุ่มไร้สังกัด. Here Comes everybody. กรุงเทพฯ: มติชน.
นวลวรรณ ดาระสวัสดิ์. (2544). การปรับเปลี่ยนอุดมการณ์วารสารศาสตร์ของไทย (วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะนิเทศศาสตร์, ภาควิชาวารสารสนเทศ.
ปาริชาต สถาปิตานนท์. (2546). การสื่อสารสุขภาพ ศักยภาพของสื่อมวลชนในการสร้างเสริมสุขภาพ. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
ปาริชาต สถาปิตานนท์. (2551). การสื่อสารประเด็นสาธารณะและการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย (งานวิจัย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะนิเทศศาสตร์, ภาควิชาการประชาสัมพันธ์.
พรทิพย์ ชนะค้า. (2554). การกำหนดวาระข่าวสารออนไลน์กับการก่อตัวของสาธารณมติในสังคมไทย (วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะนิเทศศาสตร, ภาควิชา
นิเทศศาสตร์.
พรรษาสิริ กุหลาบ. (2552). การผลิตสื่อพลเมืองบนอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย: รายงานการวิจัยฉบับ
สมบูรณ์. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
เพ็ญพักตร์ เตียวสมบูรณ์กิจ. (2547). ศึกษาปัญหาสังคมที่ควรได้รับการกำหนดเป็นวาระของ
สาธารณชน. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะนิเทศศาสตร, ภาควิชานิเทศศาสตร์พัฒนาการ.
รจิตลักษณ์ แสงอุไร. (2559). วารสารสนเทศโลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รัตนาวลี เกีรตินิยมศักดิ์. (2542). มณฑลสาธารณะของการสื่อสารผ่านสื่อกลางคอมพิวเตอร์: กรณีศึกษา
www.pantip.com และ www.sanook.com (วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะนิเทศศาสตร์, ภาควิชาการสื่อสารมวลชน.
สุทธิชัย หยุ่น. (2555). อนาคตของข่าว. กรุงเทพฯ: NextBook@NBC.
อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์. (2550). สื่อและสิทธิการสื่อสารของประชาชนฟิลิปปินส์ กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์
คบไฟ.
เอริค ชมิดท์ และ จาเร็ค โคเฮน. (2557). ดิจิทัลเปลี่ยนโลก = The New digital age. กรุงเทพฯ: โพสต์บุ๊กส์.
ภาษาอังกฤษ
Bekkers, V., Beunders, H., Edwards, A., & Moody, R. (2011). New Media, Micromobilization, and Political Agenda Setting: Crossover Effects in Political Mobilization and Media Usage. The Information Society, 27(4), 209-219.
Coddington, M. (2015). Clarifying Journalism’s Quantitative Turn. Digital Journalism, 3(3),
331-348. doi:10.1080/21670811.2014.976400
Effing, R. (2014). The social media participation framework: studying the effects of social media on nonprofit communities. Retrieved from https://doi.org/10.3990/1.9789036537490
Fink, K. (2014). Data-Driven Sourcing : How Journalists Use Digital Search Tools to Decide What's
News. Retrieved from http://dx.doi.org/10.7916/D8FB5135
Golan, G. J. (2014). Agenda Setting in a 2.0 World: New Agendas in Communication. Journal of
Broadcasting & Electronic Media, 58(3), 476-477. doi: 10.1080/08838151.2014.935946
Katelyn Godoy. (2015). Data Journalism Meets Information Design:Creating A Complex Infographic About The Yarnell Hill Wildfire. Retrieved from https://dspace.sunyconnect
.suny.edu/handle/1951/65847?show=full
Lee, J. (2006). Computer-mediated communication as political communication investigating the agenda-setting function. Retrieved from https://fsu.digital.flvc.org/islandora
/object/fsu:181533/datastream/PDF/view
Russell Neuman, W., Guggenheim, L., Mo Jang, S., & Bae, S. Y. (2014). The Dynamics of Public
Attention: Agenda-Setting Theory Meets Big Data. JCOM Journal of Communication, 64(2), 193-214.
Sonnenberg, L. (2009). New Media Technologies and the Transition to Personal Public Spheres.
Retrieved from https://ubir.buffalo.edu/xmlui/handle/10477/45536