การกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร์: การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อสกัดกั้นในโรงเรียน

Main Article Content

สิโรดม มณีแฮด
ปรัชญนันท์ นิลสุข

บทคัดย่อ

          การกลั่นแกล้งกันบนการสื่อสารสังคม คือ พฤติการณ์ที่ก่อความรังเกียจแก่จิตใจของผู้อื่นหรือความเสียหายผ่านเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ แบ่งออกเป็นการทะเลาะ, ทำลายความสัมพันธ์, กีดกัน, เผยแพร่ข้อมูลเท็จเชิงสบประมาท, ส่งต่อเรื่องลับเฉพาะ, ใช้อุบายหลอก, ข่มขู่, ก่อกวน, คุกคามทางเพศและการเมือง, การแสร้งหรือสวมรอย, สร้างบัญชีใช้งานปลอมและคัดลอกหรือขโมยอัตลักษณ์  โดยสื่อสังคมในโรงเรียน ได้แก่ เฟซบุ๊ก, ยูทูบ, อินสตาแกรม, ทวิตเตอร์, ไลน์, อีเมลและอื่นๆ  สำหรับเทคโนโลยีสกัดกั้นการกลั่นแกล้งบนการสื่อสารสังคม คือ การนำซอฟแวร์มาวิเคราะห์เนื้อหาของการสื่อสารผ่านสื่อออนไลน์ในเชิงลบแล้วกักกันอย่างอัตโนมัติไม่ให้ปรากฏต่อสาธารณะ ประกอบด้วยประเภทสืบจับข้อมูลข้อความ, ประเภทสืบจับข้อมูลภาพ, ประเภทสืบจับข้อมูลวิดีโอและประเภทสืบจับข้อมูลเสียง  ทั้งนี้ การศึกษาการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยสกัดกั้นการกลั่นแกล้งกันบนสื่อสารสังคมของนักเรียนในโรงเรียนทั้งในลักษณะข้อความ, ภาพ, วิดีโอและเสียงนี้ เจาะจงเฉพาะทางสื่อออนไลน์อย่างเป็นทางการของโรงเรียน การกลั่นแกล้งกันบนการสื่อสารสังคม คือ พฤติการณ์ที่ก่อความรังเกียจแก่จิตใจของผู้อื่นหรือความเสียหายผ่านเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ แบ่งออกเป็นการทะเลาะ, ทำลายความสัมพันธ์, กีดกัน, เผยแพร่ข้อมูลเท็จเชิงสบประมาท, ส่งต่อเรื่องลับเฉพาะ, ใช้อุบายหลอก, ข่มขู่, ก่อกวน, คุกคามทางเพศและการเมือง, การแสร้งหรือสวมรอย, สร้างบัญชีใช้งานปลอมและคัดลอกหรือขโมยอัตลักษณ์  โดยสื่อสังคมในโรงเรียน ได้แก่ เฟซบุ๊ก, ยูทูบ, อินสตาแกรม, ทวิตเตอร์, ไลน์, อีเมลและอื่นๆ  สำหรับเทคโนโลยีสกัดกั้นการกลั่นแกล้งบนการสื่อสารสังคม คือ การนำซอฟแวร์มาวิเคราะห์เนื้อหาของการสื่อสารผ่านสื่อออนไลน์ในเชิงลบแล้วกักกันอย่างอัตโนมัติไม่ให้ปรากฏต่อสาธารณะ ประกอบด้วยประเภทสืบจับข้อมูลข้อความ, ประเภทสืบจับข้อมูลภาพ, ประเภทสืบจับข้อมูลวิดีโอและประเภทสืบจับข้อมูลเสียง  ทั้งนี้ การศึกษาการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยสกัดกั้นการกลั่นแกล้งกันบนสื่อสารสังคมของนักเรียนในโรงเรียนทั้งในลักษณะข้อความ, ภาพ, วิดีโอและเสียงนี้ เจาะจงเฉพาะทางสื่อออนไลน์อย่างเป็นทางการของโรงเรียน              นอกจากนี้ การจัดการสกัดกั้นที่มีประสิทธิภาพนั้น นักเรียนผู้ใช้สื่อสารสังคมควรมีพื้นฐานการรู้เท่าทันสื่อ ขณะที่ผู้ใหญ่ ครูหรือเจ้าหน้าที่ควรเป็นนักจัดการระบบเทคโนโลยีขั้นปานกลางถึงสูง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ภาษาไทย
กานดา แผ่วัฒนากุล, และปราโมทย์ ลือนาม. (2556). การวิเคราะห์เหมืองความคิดเห็นบนเครือข่ายสังคมออนไลน์. วารสารการจัดการสมัยใหม่ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 11 (2), 11-20.
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2554). กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ.2554-2563 ของประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
ชุตินาถ ศักรินทร์กุล, และอลิสา วัชรสินธุ. (2557). ความชุกของการข่มเหงรังแกและปัจจัยด้านจิตสังคมที่เกี่ยวข้องในเด็กมัธยมต้น เขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 59 (3), 221-230.
นภาวรรณ อาชาเพ็ชร. (2560). การรังแกผ่านโลกไซเบอร์ ความรุนแรงที่ต้องแก้ไข และนวัตกรรมการจัดการปัญหา. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 5 (1), 100-106.
พัชราภา เอื้ออมรวนิช. (2561). สื่อสังคมออนไลน์กับการนำเสนอข่าวของสื่อมวลชน. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 5 (2), 235-242.
ราชวิทย์ ทิพย์เสนา, ฉัตรเกล้า เจริญผล, และแกมกาญจน์ สมประเสริฐศรี. (2557). การจําแนกกลุ่มคําถามอัตโนมัติบนกระดานสนทนา โดยใช้เทคนิคเหมืองข้อความ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 33 (5), 493-502.
วัณณุวรรธน์ อินทรผล, และวฤษาย์ ร่มสายหยุด. (2560). การทำเหมืองข้อความสำหรับการแก้ปัญหาข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการบริการลูกค้าที่บริษัทการสื่อสาร. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 4 (2), 127-131.
สุภาวดี เจริญวานิช. (2560). การรังแกกันผ่านพื้นที่ไซเบอร์: ผลกระทบและการป้องกันในวัยรุ่น. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 25 (4), 639-648.
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2559). แผนพัฒนาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.
สำรวน เวียงสมุทร. (2555). การตรวจจับป้ายสัญญาณจราจรด้วยเชพคอนเท็กซ์. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 22 (2), 349-360.

ภาษาอังกฤษ
Cunningham, C., et al. (2015). Modeling the anti-cyberbullying preferences of university students: Adaptive choice-based conjoint analysis. AGGRESSIVE BEHAVIOR, 41 (1), 369-385.
Dave, B., & Pipalia, D.S. (2019). Speech recognition: A renew. International Journal of Advance Engineering and Research Development, 12 (1), 230-236.
June, F.C. (2014). Review of the Status of Cyberbullying and Cyberbullying Prevention. Journal of Information Systems Education, 25 (1), 77-88.
Kaplan, J. (2016). Artificial intelligence: What everyone needs to know. Oxford: Oxford University Press.
May, A.W., & Albert, C.O. (2018). Cyberbullying among College Students: A Look at Its Prevalence at a U.S. Catholic University. International Journal of Educational Methodology, 4 (2), 101-107.
Muijs, D. (2017). Can schools reduce bullying? The relationship between school characteristics and the prevalence of bullying behaviors. British Journal of Educational Psychology, 87 (2), 255–272.
Nick, H. (2013). Cyber Bullying. Chicago: Heinemam Library.
Paullet, K., & Pinchot, J. (2014). Behind the Screen Where Today’s Bully Plays: Perceptions of College Students on Cyberbullying. Journal of Information Systems Education, 25 (1), 63-70.
Pulido, C.M., Redondo-Sama G., Sorde´-Martı´, T., & Flecha, R. (2018). Social impact in social media: A new method to evaluate the social impact of research. PLoS ONE, 13 (8), 1-20.
Rivituso, J. (2014). Cyberbullying Victimization among College Students: An Interpretive Phenomenological Analysis. Journal of Information Systems Education, 25 (1), 71-76.
Tudkuea, T., Laeheem, K., & Sittichai, R. (2019). Guidelines for Preventive Cyber Bullying Behaviors among Secondary School Students in the Three Southern Border Provinces. Journal of Behavioral Science for Development, 11 (1), 91-106.
Vaillancourt, T., Faris, R., & Mishna, F. (2017). Cyberbullying in children and youth: Implications for health and clinical practice. The Canadian Journal of Psychiatry, 62 (6), 368-373.
Webber, M., & Ovedovitz, A. (2018). Cyberbullying among college students: A look at its prevalence at a U.S. Catholic university. International Journal of Educational Methodology, 4 (2), 95-107.
Yang, W. (2019). Analysis of sports image detection technology based on machine learning. EURASIP Journal on Image and Video Processing, 17 (1), 1-8.