บทบาทและอิทธิพลทางการเมืองและเศรษฐกิจของชาวจีนในเวียดนาม (Người Hoa ở Việt Nam) ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 ถึง 1975
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้เน้นศึกษาวัตถุประสงค์ 2 ข้อ ได้แก่ ประการแรก เพื่อวิเคราะห์ถึงพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของการเข้ามาตั้งถิ่นฐานของ ชาวจีนบริเวณภาคใต้ของเวียดนาม และประการที่สอง เพื่อศึกษาถึงบทบาทของชาวจีนโพ้นทะเลทั้งด้านการเมืองและเศรษฐกิจของเวียดนามในแต่ละยุคสมัยที่แตกต่างกัน โดยใช้วิธีวิทยาทางประวัติศาสตร์จากการศึกษาด้วยการสังเคราะห์และวิเคราะห์จากหลักฐานชั้นต้นและชั้นรอง นอกจากนี้ยังมุ่งศึกษาประวัติของกลุ่มชาวจีนโพ้นทะเลในหลายยุคสมัยที่เข้ามาบริเวณภาคใต้ของเวียดนามและยังใช้ทฤษฎีการอพยพย้ายถิ่นมาเป็นกรอบแนวคิดในการวิเคราะห์ ผลจากการศึกษาพบว่า ชาวจีนโพ้นทะเลที่เข้ามายังภาคใต้ของเวียดนามแบ่งออกเป็นสามระลอก ได้แก่ ภายหลังราชวงศ์หมิงล่มสลายซึ่งส่วนใหญ่เป็นขุนนางราชวงศ์หมิงและครอบครัว เรียกว่า “มิงห์เฮือง (Minh Hương)” มีบทบาทในการบุกเบิกภาคใต้เวียดนามให้เป็นรัฐเมืองท่าการค้า ยุคอาณานิคมซึ่งอาณานิคมฝรั่งเศสนำเข้าเป็นแรงงานขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และหลังจากข้อตกลงเจนีวาในปี ค.ศ. 1954 ที่มีชาวจีนโพ้นทะเลในเวียดนามเหนืออพยพลงมายังเวียดนามใต้ ซึ่งแต่ละกลุ่มเข้ามามีบทบาททั้งทางการเมืองและขับเคลื่อนเศรษฐกิจของเวียดนามใต้ อย่างไรก็ตามชาวจีนโพ้นทะเลยังมีสถานภาพที่แตกต่างกันตามการเมืองที่เปลี่ยนไปในเวียดนาม
Downloads
Article Details
References
ยศ สันตสมบัติ และคณะ. (2557). มังกรหลากสี: การขยายอิทธิพลเหนือดินแดนและพันธกิจเผยแผ่อารยธรรมในอุษาคเนย์. เชียงใหม่: คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
An, T. S. (1967). The Overseas Chinese in South Vietnam: A Note, Vietnam Perspectives, 2(4), 13-19.
Crawfurd, J. (1967). Journal of an Embassy to the Courts of Siam and Cochin China. Kuala Lumpur: Oxford University Press.
Fall, B. B. (1958). Viet-Nam's Chinese Problem. Far Eastern Survey, 27(5), 65-72.
Khanh, T. (1991). The Role of the Chinese in Vietnam's Economy. Sojourn: Journal of Social Issues in Southeast Asia, 6(1), 126-139.
Khanh, T. (1993). The Ethnic Chinese and Economic Development in Vietnam. ISEAS–Yusof Ishak Institute.
Lee, E. S. (1996). A theory of migration. Demography, 3(1), 47-57.
Stern, L. M. (1985). The Overseas Chinese in Vietnam, 1920-75: Demography, Social Structure, and Economic Power. Humboldt Journal of Social Relations, 12(2), 1-30.
Ungar, E. S. (1987). The Struggle over the Chinese Community in Vietnam, 1946-1988. Pacific Affairs, 60(4), 596-614.
Châu Thị Hải. (1989). Tìm hiểu sự hình thành các nhóm cộng đồng người Hoa ở Việt Nam trong bối cảnh lịch sử Đông Nam Á (งานศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับภาพลักษณ์ชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศเวียดนามผ่านบริบททางประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้). Luận án Phó tiến sĩ sử học Chuyên ngành lịch sử Việt Nam. Bộ Đại học Trung học Chuyên nghiệp và Dạy nghề trường đại học Tổng hợp Hà Nội.
Huỳnh Ngọc Đáng. (2005). Chính sách của các Vương Triều Việt Nam đối với người Hoa (นโยบายของจักรพรรดิเวียดนามที่มีต่อชาวจีนโพ้นทะเล). Hà Nội: Trường Đại học Khoa học Xã hội và Nhân văn.
Nguyễn Đức Hùng. (2016). Biệt động Sài Gòn – Chợ Lớn – Gia Định trong 30 năm chiến tranh giải phóng (1945-1975) (ภารกิจพิเศษไซ่ง่อน – เจอะเหลิน – ซาดิ่งห์ ในสามสิบปีสงครามปลดปล่อย (1955-197). Thành phố Hồ Chí Minh: Văn Hóa - Văn Nghệ.
Trình Hoài Đức. (2010). Gia Định Thành Thông Chí (อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ซาดิ่งห์). Đồng Nai: Tổng hợp Đồng Nai.