การเชื่อมโยงความประเภทไวยากรณ์ในข่าวออนไลน์ภาษาสเปน
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้เครื่องมือเชื่อมโยงความประเภทไวยากรณ์ในข่าวออนไลน์ภาษาสเปน กลุ่มตัวอย่างของกรณีศึกษานี้มีจำนวน 40 ข่าว แบ่งออกเป็นข่าววิทยาศาสตร์ ข่าววัฒนธรรม ข่าวเศรษฐกิจ และข่าวต่างประเทศ หัวข้อละ 10 ข่าว จากสำนักข่าวต่างสำนักกัน ผู้วิจัยเลือกวิเคราะห์ข้อมูลด้วยทฤษฎีของฮัลลิเดย์และฮาซาน ผลจากการศึกษาโดยรวมพบว่า (1) การอ้างถึงพบมากเป็นอันดับหนึ่ง ตามด้วยการละ การเชื่อมความ และการแทนที่เป็นอันดับสุดท้าย และ (2) หากวิเคราะห์ในแต่ละหัวข้อข่าว พบว่าข่าววิทยาศาสตร์และข่าวเศรษฐกิจมีการใช้เครื่องมือเชื่อมโยงความในลักษณะใกล้เคียงกัน ในขณะที่ข่าววัฒนธรรมและข่าวต่างประเทศใช้เครื่องมือเชื่อมโยงความใกล้เคียงกัน
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
จันทิมา อังคพณิชกิจ. (2561). การวิเคราะห์ข้อความ (พิมพ์ครั้งที่ 2). โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชลธิชา บำรุงรักษ์. (2563). ระบบข้อความ. ภาษาและภาษาศาสตร์. ใน ดียู ศรีนราวัฒน์ (บรรณาธิการ), ภาษาและภาษาศาสตร์ (น.133-168). โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ภาคภูมิ หรรนภา. (2554). การเขียนข่าวเบื้องต้น. อินทนิล.
วัฒณี ภูวทิศ. (2551). การสื่อข่าวและการเขียนข่าว. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2554). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2554. https://dictionary.orst.go.th/
Campuzano, O. & Paucar, D. (2022). Recursos cohesivos en textos periodísticos: Análisis comparativo en cinco publicaciones del diario el Comercio de Perú. Revista de Lingüística Teórica y Aplicada, 21(1), 403-423. https://doi.org/10.15381/lengsoc.v21i1.22481
Centro Virtual Cervantes. (n.d.). Plan curricular del Instituto Cervantes: Niveles de referencia para el español. Retrieved September 1, 2024, form https://cvc.cervantes.es/ensenanza/biblioteca_ele/plan_curricular
Cuenca, M. (2010). Gramática del texto. Acro Libros.
De Beaugrande, R. A., & Dressler, W. U. (1997). Introducción a la lingüística del texto. Editorial Ariel.
Enciclopedia Humanidades. (n.d.). Noticia. In Enciclopedia Humanidades. Retrieved September 1, 2024, form https://humanidades.com/noticia/
Fenández, S. (1997). Interlengua y análisis de errores en el aprendizaje del español como lengua extranjera. Edelsa.
García Platero, J. (2000). El corpus periodístico en la enseñanza del español: ¿Reflejo de la norma? Actas del XI Congreso Internacional ASELE, 359-364. https://dialnet.unirioja.es/servlet/articulo?codigo=608272
Halliday, M. A. K., & Hasan, R. (1976). Cohesion in English. Longman.
Marchesi, C. (2018). La noticia periodística en el aula de ELE. Una propuesta didáctica para mejorar la competencia discursiva [Master’s thesis, Universitat de Girona]. Universitat de Girona. https://dugi-doc.udg.edu/handle/10256/16197
Nauta, J. (2020). La prensa escrita en la enseñanza del español como lengua extranjera. Acro Libros.
Real Academia Española. (2010). Nueva gramática de la lengua española. Espasa.
Sitio, I., Nasution, M. & Nuriela, N. (2023). Cohesive devices realization in the Jakarta Post news editorials: A discourse analysis. Deiksis, 15(1), 10-24.
DW Español. (2024, November 13). In Wikipedia. https://es.wikipedia.org/wiki/DW_Español