การแปลคำทางวัฒนธรรมจากภาษาสเปนเป็นภาษาไทยในนวนิยายเม็กซิกันเรื่อง “เปโดร ปาราโม”

Main Article Content

ธนิฏฐา สิรินิตย์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ศึกษากลวิธีการแปลคำทางวัฒนธรรมจากภาษาสเปนเป็นภาษาไทยในนวนิยายเม็กซิกันเรื่อง “เปโดร ปาราโม” จากการศึกษาพบคำทางวัฒนธรรมรวมทั้งสิ้น 131 คำ ผู้วิจัยวิเคราะห์กลวิธีการแปลคำทางวัฒนธรรมตามแนวทฤษฎีของ Molina (2001) พบว่า ตรงกับกลวิธีการแปลคำทางวัฒนธรรมทั้งหมด 9 วิธี เรียงลำดับตามความถี่ของการปรากฏใช้จากมากที่สุดไปน้อยที่สุด ได้แก่ การทับศัพท์ร่วมกับกลวิธีอื่น การสร้างวาทกรรม การเทียบเคียงคำหรือสำนวนที่กำหนดไว้แล้ว การบรรยาย การดัดแปลง การยืมแล้วแปลตรงตัว การแปลแบบคลุมความ การขยายความ และการลดความ ตามลำดับ

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ฆวน รุลโฟ. (2561). เปโดร ปาราโม (กำพล นิรวรรณ, ผู้แปล). ผจญภัยสำนักพิมพ์. (ต้นฉบับพิมพ์ปี 1955).

ทินประภา กรดนิยมชัย และ ภาสุรี ลือสกุล. (2561). การวิเคราะห์องค์ประกอบทางวัฒนธรรมไทยใน “อสรพิษ” ฉบับภาษาสเปน. วารสารการแปลและล่าม, 3(2), 41-89.

ประชิด วามานนท์ (2520). อะกาเว่, เฟอเครีย, ยุคคา. วารสารพืชสวน, 12(2), 1-12.

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย (1 ตุลาคม 2563). วรรณกรรมและชีวิตของ กำพล นิรวรรณ นักปฏิวัติผู้พ่ายแพ้. The101.world. https://www.the101.world/kampol-nirawan-interview/

เพ็ญพิสาข์ ศรีวรนารถ. (2551). ปัญหาในการแปลผ่านภาษาที่สอง กรณีศึกษา: การแปลวรรณกรรมเรื่อง เปโดร ปาราโม. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 30(1), 129-149.

แพร จิตติพลังศรี. (2561). บรรณาธิการแถลง. วารสารการแปลและล่าม, 3(2), 5-8.

ภาสุรี ลือสกุล. (2561). สัจนิยมมหัศจรรย์ในลาตินอเมริกา: ประวัติศาสตร์ ชาติพันธุ์ วรรณกรรม. โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2561). หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาสเปน พุทธศักราช 2561. ผู้แต่ง.

วัลยา วิวัฒน์ศร. (2557). การแปลวรรณกรรม (พิมพ์ครั้งที่ 3). โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สถาบันส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ. (ม.ป.ป.) งานศิลปหัตถกรรมจักสานกระจูด. สถาบันส่งเสริมศิลปหัตถกรรมไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2567, จาก https://www.sacit.or.th/uploads/items/attachments/b555da9b21a5a45577bb2bfb58bcfea0/_783b24b5d043b02fe6bb8dd757088238.pdf

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2554). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. https://dictionary.orst.go.th/

Baker, M. (1992). In other words. A coursebook on translation. Routledge.

DeMejico. (n.d.). Original Troje from Mechoacan Mexico. Retrieved from September 20, 2024, from https://www.demejico.com/customprojects/original-mexican-troje/

Jiménez de Báez, Y., & Gutiérrez de Velasco, L. (2008). Pedro Páramo: diálogos en contrapunto (1955-2005). El Colegio de México. https://muse.jhu.edu/book/74584.

Luiselli, V. (2023, November 29). A masterpiece that inspired Gabriel García Márquez to write his wwn. The New York Times. https://www.nytimes.com/2023/11/29/books/review/pedro-paramo-juan-rulfo.html

Luque Nadal, L. (2009). Los culturemas: ¿Unidades lingüísticas, ideológicas o culturales? Language Design, 11, 93-120. http://elies.rediris.es/Language_Design/LD11/LD11-05-Lucia.pdf

Marco Borriello, J., Verdegal Cerexo, J., & Hurtado Albir, A. (1999). La traducción literaria. In Enseñar a traducir: metodología en la formación de traductores e intérpretes (pp. 167-181). n.p.

Molina Martínez, L. (2001). Análisis descriptivo de la tra¬ducción de los culturemas árabe-español [Doctoral dissertation]. Universitat Autònoma de Barcelona.

Molina Martínez, L. (2006). El otoño del pingüino. Análisis descriptivo de la tra¬ducción de los culturemas. Publicacions de la Universitat Jaume I.

Newmark, P. (1988). Textbook of translation. Prentice Hall.

Nida, E. A. (1945). Linguistics and ethnology in translation-problems. Word, 1(2), 194-208. https://doi.org/10.1080/00437956.1945.11659254

Nord, C. (1997). Translating as a purposeful activity. Functionalist aproches explained. Routledge.

Rulfo, J. (1955/2005). Pedro Páramo. Editorial RM y Fundación Juan Rulfo.

Rulfo, J. (1959). Pedro Páramo (Lysander Kemp, Trans.). Grove Press. (Original work published 1955). https://archive.org/details/pedropramo00rulf

Rulfo, J. (1994). Pedro Páramo (Margaret Sayers Peden, Trans). Serpent’s Tail. (Original work published 1955).

Rulfo, J. (2023). Pedro Páramo (Douglas J. Weatherford, Trans). Serpent’s Tail. (Original work published 1955).

Sandoval Godoy, L. (2004). Modos de hablar en Jalisco. Secretaria de Cultura. Gobierno del Estado de Jalisco.

Venuti, L. (1995). The translator’s invisibility. Routledge.

Vermeer, H. (1983). Translation theory and linguistics. In P. Roinila, R. Orfanos, & S. Tirkkonen-Condit (Eds.), Häkökohtia käänämisen tutkimuksesta (pp. 1-10). Joensuu University.

Zilberdik, N. J. (2004). Relay translation in subtitling. Perspectives: Studies in Translatology, 12(1), 31-53.